กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้ ”
ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางพิสุทธิ์ศรี จิตต์มั่น




ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้

ที่อยู่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8428-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8428-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุน ฯ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบการทำงานของคณะกรรมการ เพื่อให้คณะกรรมการกองทุน มีความรู้ความเข้าใจในกฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรังชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้อรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน
  3. เพื่อสร้างความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่กับคณะกรรมการกองทุนและแกน นำสุขภาพ และจากทุกภาคส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชุมและส่งเสริมความรู้/เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุน ฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการ ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ

  2. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ ได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน

  3. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ เกิดความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ กับแกนนำสุขภาพ และประชาชนจากทุกภาคส่วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการประชุมและส่งเสริมความรู้/เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุน ฯ

วันที่ 29 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดังนี้  การเพิ่มศักยภาพการบริหารกองทุน ฯ  การประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุนฯ เพื่อเสนอ/พิจารณา/ความเห็นชอบโครงการ  และการติดตามผลโครงการ
- ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะกรรมการ อนุกรรมการและคณะทำงาน - ค่ารับรองในการประชุม ฯ หรือค่ารับรองต้อนรับบุคคลและพิธีการ ในการบริหารหรือ สนับสนุนพัฒนากองทุน ฯ ในงานด้านกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เช่นเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ตามอัตราที่กองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติกำหนด - ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกองทุนต่าง ๆ เช่น ใบเสร็จกองทุน ฯ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ไปรษณีย์  ค่าอาหารว่าง น้ำดื่ม สมุดเงินสดรับ สมุดเงินสดจ่าย เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
  2. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ  ได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน
  3. คณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ เกิดความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่กับแกนนำสุขภาพ และประชาชนจากทุกภาคส่วน

 

26 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน กิจกรรม การเพิ่มศักยภาพการบริหารกองทุน ฯ

  ครั้งที่    วัน/เดือน/ปี ผู้เข้าร่วมประชุม(คน) เป็นเงิน 5/2561 29 ต.ค. 61 13 5,200 6/2561 13 ธ.ค. 61 17 6,800 7/2561      27 ธ.ค.61 17 6,800 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 15 ม.ค.62            25            3,025 1/2562 (อนุกรรมการ) 26 ก.พ.262              6              1,800
1/2562 (คณะกรรมการ) 28 ก.พ.62 17 6,800 2/2562 (อนุกรรมการ)  7 พ.ค.62              6              1,800 2/2562 (คณะกรรมการ)  8 พ.ค. 62            17                    6,800 3/2562 (อนุกรรมการ)  12 ก.ค.62            6              1,800 3/2562 (คณะกรรมการ)  15 ก.ค. 62          18              7,200 4/2562 (อนุกรรมการ)  19 ส.ค.62            6              1,800 4/2562 (คณะกรรมการ)  22 ส.ค.62            11              4,400                                     รวมเป็นเงินทั้งหมด  54,225 บาท ใช้งบประมาณสำหรับการเบิกค่าตอบแทนในการประชุม และกิจกรรมให้ความรู้ เป็นเงิน 54,225 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : จำนวนของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ
80.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน
ตัวชี้วัด : จำนวนของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ
80.00 80.00

 

3 เพื่อสร้างความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่กับคณะกรรมการกองทุนและแกน นำสุขภาพ และจากทุกภาคส่วน
ตัวชี้วัด : จำนวนของคณะกรรมการ/อนุกรรมการ กองทุน ฯ
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 26 26

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง ในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน (3) เพื่อสร้างความเข้าใจในการจัดการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่กับคณะกรรมการกองทุนและแกน นำสุขภาพ และจากทุกภาคส่วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมและส่งเสริมความรู้/เพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการกองทุน ฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพิ่มศักยภาพการบริหงานงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาท่ามใต้ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8428-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิสุทธิ์ศรี จิตต์มั่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด