กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี ”
ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวการีมา หะยีสะมะแอ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3070-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3070-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากวิวัฒนาการทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นส่งผลให้มีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติประมาณว่าจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มจาก 4.03 ล้านคนในปี 2533 เป็น 10.77 ล้านคน ในปี 2563และผู้สูงอายุจะมีอุบัติการณ์ป่วยมากกว่าวัยอื่นถึง 4 เท่า และมีรายงานว่าผู้สูงอายุประมาณ 4 ใน 5 หรือร้อยละ 72.5 มีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1โรค และพบว่าในจำนวนที่ป่วยเสี่ยงต่อภาวะทุพพลภาพร้อยละ 18.3ประกอบกับตำบลยาบีเริ่มมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันร้อยละ 13 อีกทั้ง ปัญหาผู้ป่วยโรคเรื้อรังก็เพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจาก การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องทำให้เจ็บป่วยเรื้อรังเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆขึ้นมาได้ และผู้ป่วยบางรายได้รับการดูแลที่ไม่เหมาะสมทำให้ ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองและมารับบริการที่สถานบริการสาธารณสุขได้จึงจำเป็นต้องติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามดูแลแนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ ทั้งผู้ป่วยและญาติ เพื่อให้บริการแก่กลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้ ได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้ป่วยที่ติดบ้าน ติดเตียงที่บ้านในเขตตำบลยาบี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบีร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบีจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึงพิง ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช เพื่อสำรวจความต้องการและจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวชตำบลยาบี ขึ้นเพื่อให้สามารถที่จะจัดระบบการดูแลให้ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ จิต สังคมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับคนกลุ่มนี้ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของตัวเอง มีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีความสุขต่อไป ภายใต้หลักเกณฑ์ที่กองทุนฯกำหนด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อค้นหาปัญหา ความต้องการและเพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ
  2. ๒. เพื่อให้ญาติและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 70
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ทราบถึงปัญหา ความต้องการของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
    ๒. ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ
    ๓. ญาติและคนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อค้นหาปัญหา ความต้องการและเพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อให้ญาติและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 70
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อค้นหาปัญหา ความต้องการและเพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแนะนำและฟื้นฟูสมรรถภาพ (2) ๒. เพื่อให้ญาติและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (หมอประจำครอบครัว) ตำบลยาบี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3070-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวการีมา หะยีสะมะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด