กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม


“ ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ”

ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 พฤศจิกายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 พฤศจิกายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,955.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรัง (chronic disease) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคไม่ติดเชื้อ ซึ่งได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคข้อเข่าเสื่อม ฯลฯ เป็นโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการหรือต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานาน โดยโรคเรื้อรังมักเกิดจากสาเหตุหลายประการซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม กินผักน้อย ขาดการออกกาลังกาย น้าหนักตัวเกิน สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า เป็นต้น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดาเนินชีวิตเช่นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคได้มากกว่าคนอื่นๆ และนอกจากนี้อีกร้อยละ 10 เกิดจากพันธุกรรม (นิทรา, 2016) ซึ่งในประเทศไทยพบว่าประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป มีจานวนผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1,565,640 คน และเป็นโรคความดันโลหิตสูง 3,524,083 คน (HDC, 2018) ซึ่งในปี 2555-2558 มีแนวโน้มอัตราตายด้วยโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจาก 12.1 ต่อแสนประชากร เป็น 19.4 ต่อแสนประชากร และพบการเพิ่มขึ้นของอัตราตายจากภาวะความดันโลหิตสูง จาก 5.7 ต่อแสนประชากร เป็น 12.1 ต่อแสนประชากร (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559) จากฐานข้อมูล JHCIS จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่าข้าม ปี 2560 พบว่าหมู่ที่ 5 บ้านหนองบัว ตาบลท่าข้าม อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีผู้เป็นโรคเบาหวาน จานวน 51 ราย จากประชากรกลุ่มเสี่ยง 574 ราย คิดเป็นอัตราความชุกของโรคเป็นร้อยละ 8.89 และคิดเป็นอัตราตายเฉพาะโรค ร้อยละ 1.96 โดยสาเหตุการตายจากโรคเบาหวานส่วนใหญ่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของโรค เช่น การติดเชื้อในกระแสเลือด การเป็นโรคไตเรื้อรัง (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559) และมีผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูง จานวน 197 ราย จากประชากรกลุ่มเสี่ยง 574 ราย คิดเป็นอัตราความชุกร้อยละ 34.32 และคิดเป็นอัตราตายเฉพาะโรคร้อยละ 1.52 ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของหมู่บ้าน ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจและเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญที่สุดของโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และภาวะความดันโลหิตสูงยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดสมองแตก (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559) จากการเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้แบบประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 41 ราย สารวจเมื่อวันที่ 19-20 กันยายน พ.ศ. 2561 พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อภาวะสุขภาพอยู่ในระดับน้อย จานวน 21 ราย จากทั้งหมด 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.22 ซึ่งขัดแย้งกับข้อมูลดัชนีมวลกายที่พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์อ้วน จานวน 11 ราย จากทั้งหมด 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.59 ซึ่งสัมพันธ์กับข้อมูลการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพที่พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพอยู่ในระดับน้อย จานวน 28 ราย จาก 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.29 จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุในชุมชนในหมู่ที่ 5 บ้านหนองบัวส่วนใหญ่ มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมแต่ขาดการปฏิบัติตัวในการควบคุมโรค จากการทาประชาคมในวันที่ 26 กันยายน 2561 โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 38 คน ประกอบไปด้วยตัวแทนจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนชาวบ้านหมู่ที่ 5 ได้มีมติร่วมกันในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของคนในชุมชน ทางกลุ่มนักศึกษาร่วมกับชุมชน จึงได้จัดทาโครงการ “ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นที่เป็นสาเหตุการตาย ลดภาระทางด้านการรักษาพยาบาล และเพื่อช่วยให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. 2. กิจกรรม ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. 3. กิจกรรม ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
  4. 4. กิจกรรม “บันไดงู...รู้เรื่องโรค”
  5. 5. กิจกรรม “SKT ยืดอายุ”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนมีทักษะการออกกาลังกายที่สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
  4. อัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงประชาชนในชุมชนลดลง
  5. ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) 2. กิจกรรม ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ (3) 3. กิจกรรม ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ที่เข้าร่วมโครงการ (4) 4. กิจกรรม “บันไดงู...รู้เรื่องโรค” (5) 5. กิจกรรม “SKT ยืดอายุ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด