โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 ”
พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4
หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองอู่ตะเภา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองอู่ตะเภา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-501 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองอู่ตะเภา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4 รหัสโครงการ 60-501 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองอู่ตะเภา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ภัยพิบัติ (อุทกภัย) ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของตำบลคลองอู่ตะเภา ถือว่าเป็นวิกฤติการณ์ที่ทำให้เกิดความเสียหายตามมามากมายในพื้นที่ โดยเฉพาะประชาชนที่ประสบปัญหาด้านปัจจัยในการดำรงชีวิต ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ขาดแคลนอาหารสิ่งของอุปโภค บริโภค รวมจนถึงผลกระทบที่ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนอย่างรุนแรง ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทั้งระหว่างเกิดภัยพิบัติและหลังเกิดภัยพิบัติ
คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภามีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินงานให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชน ทั้งที่บ้านและที่ชุมชน ให้สามารถเข้าถึงบริการและได้รับการดูแลด้านสุขภาพ การป้องกันโรคต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในสถานการณ์อุทกภัย การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในพื้นที่ และศูนย์อพยพ รวมถึงการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของประชาชนในพื้นที่ ที่อาจได้รับผลกระทบด้านสุขภาพโดยรวมจากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร น้ำกัดเท้า โรคตาแดง โรคฉี่หนู โรคไข้เลือดออก ภาวะซึมเศร้า ปัญหาความเครียด และปัญหาด้านสุขภาพอื่น ๆ ที่มีผลกระทบจากปัญหาอุทกภัยดังกล่าว ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร่งด่วน คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จึงได้จัดทำโครงการสดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนและช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็กและสตรีมีครรภ์ ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง ผู้ป่วยเรื้อรัง รวมถึงประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ สามารถได้รับการช่วยเหลือและดูแลในสถานการณ์อุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ
- 2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับส่งเสริมคุณภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนระหว่างและหลังเกิดภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
2.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูและสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับส่งเสริมคุณภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนระหว่างและหลังเกิดภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
2
2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูและสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ
3
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ (2) 2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย) (3)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-501
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองอู่ตะเภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 ”
พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4
หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองอู่ตะเภา
กันยายน 2560
ที่อยู่ พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-501 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองอู่ตะเภา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ตำบลคลองอู่ตะเภา หมู่ที่ 1-4 รหัสโครงการ 60-501 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองอู่ตะเภา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ภัยพิบัติ (อุทกภัย) ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของตำบลคลองอู่ตะเภา ถือว่าเป็นวิกฤติการณ์ที่ทำให้เกิดความเสียหายตามมามากมายในพื้นที่ โดยเฉพาะประชาชนที่ประสบปัญหาด้านปัจจัยในการดำรงชีวิต ที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหาย ขาดแคลนอาหารสิ่งของอุปโภค บริโภค รวมจนถึงผลกระทบที่ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนอย่างรุนแรง ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ทั้งระหว่างเกิดภัยพิบัติและหลังเกิดภัยพิบัติ คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภามีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินงานให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการดูแลด้านสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชน ทั้งที่บ้านและที่ชุมชน ให้สามารถเข้าถึงบริการและได้รับการดูแลด้านสุขภาพ การป้องกันโรคต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในสถานการณ์อุทกภัย การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในพื้นที่ และศูนย์อพยพ รวมถึงการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของประชาชนในพื้นที่ ที่อาจได้รับผลกระทบด้านสุขภาพโดยรวมจากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร น้ำกัดเท้า โรคตาแดง โรคฉี่หนู โรคไข้เลือดออก ภาวะซึมเศร้า ปัญหาความเครียด และปัญหาด้านสุขภาพอื่น ๆ ที่มีผลกระทบจากปัญหาอุทกภัยดังกล่าว ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร่งด่วน คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จึงได้จัดทำโครงการสดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนและช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้สูงอายุ คนพิการ เด็กและสตรีมีครรภ์ ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง ผู้ป่วยเรื้อรัง รวมถึงประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ สามารถได้รับการช่วยเหลือและดูแลในสถานการณ์อุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ
- 2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับส่งเสริมคุณภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนระหว่างและหลังเกิดภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
2.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูและสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในพื้นที่ได้รับส่งเสริมคุณภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนระหว่างและหลังเกิดภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย) ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูและสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ |
|
|||
3 | ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างเกิดภัยพิบัติ (2) 2.เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่น ๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ(อุทกภัย) (3)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสุขภาพประชาชนในสถานการณ์กรณีเกิดภัยพิบัติ(อุทกภัย)กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองอู่ตะเภาประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-501
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.คลองอู่ตะเภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......