กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการทำน้ำหมักชีวภาพทดแทนสารเคมี
รหัสโครงการ 60-L5220-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มนาข้าวปลอดภัยบ้านหนองถ้วย
วันที่อนุมัติ 7 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2560
งบประมาณ 53,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาสมเพียรขำมากนายสุพจน์โกศลนางมณฑาโกศล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.789,100.269place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 24 ก.ค. 2560 30 ก.ย. 2560 53,000.00
รวมงบประมาณ 53,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตการเกษตร เช่น ข้าว ผัก และสัตว์เลี้ยงส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งเป็นเกษตรกรในด้านสุขภาพ คนในชุมชนมีการเจ็บป่วย ระบบทางเดินหายใจ และโรคผิวหนัง เช่น อาการแพ้ และผื่นคัน ตามร่างกาย ตามข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสามอ่าง ตำบลตะเครียะ ขณะผู้บริโภคเองก็ได้รับผลกระทบในด้านอาหารที่ไม่มีความปลอดภัย มีสารตกค้างของสารเคมี ที่อยู่ในข้าวและพืชผัก การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง หรืออื่นๆ ไม่เพียงแต่กระทบต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค เท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น ดิน แหล่งน้ำ พืช และสัตว์น้ำ ซึ่งหากคนในชุมชนยังขาดความรู้และตระหนักในปัญหาดังกล่าวแล้ว ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบในระยะยาว ดั้งนั้นการเสนอโครงการทำน้ำหมักชีวภาพทดแทนสารเคมี จึงจำเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะให้คนในชุมชนเกิดความรู้ ความตระหนักในการลดการใช้สารเคมี กลับมาทำเกษตรอินทรีย์ ที่มีความปลอดภัย นำไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหาร และสุขภาพของคนในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกษตรกรมีการลดการใช้สารเคมีในการปลูกข้าว ปลูกผัก

กลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ทักษะ ในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ และสามารถนำไปปรับใช้ในการผลิต ลดการใช้สารเคมี

2 เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคมีสุขภาพที่ดี

เกษตรกรและผู้บริโภคมีสุขภาพที่ดีขึ้น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ความรู้เกี่ยวกับโทษของสารเคมี 2.สร้างจิตสำนึกให้เกษตรกรตระหนักและรับผิดชอบในการผลิตอาหารปลอดภัย 3.อบรมให้ความรู้ วิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ 4.สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพให้เกษตรกรได้เรียนรู้ทุกขั้นตอน 5.จัดหาวัสดุให้เกษตรกรสามารถนำไปผลิตน้ำหมักชีวภาพในครัวเรือนได้จริง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คนในชุมชนได้บริโภคอาหารปลอดสารพิษ 2.ลดการเจ็บป่วยของเกาตรจากการใช้สารเคมี 3.มีสุขภาพที่ดี ทั้งผู้ผลิต และผู้บริโภค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2560 09:50 น.