กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรางหวาย


“ โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่ ”

ตำบลรางหวาย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

หัวหน้าโครงการ
ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลรางหวาย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่ จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรางหวาย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรางหวาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรางหวาย อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรางหวาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มเยาวชน เป็นกลุ่มเป้าหมายทางสังคมที่ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ และ สังคมที่จะต้องให้ความสำคัญกับกลุ่มนักเรียน และ เยาวชนในกลุ่มนี้ ซึ่งเป็นกลุ่มที่อ่อนไหว และ เป็นกลุ่มเสี่ยง ถ้าได้รับการอบรมดี ศึกษาเล่าเรียนดีก็จะ เป็นคนดีของสังคม แต่ถ้าไม่ให้ความสำคัญเขาก็จะเป็นกลุ่มที่ติดเพื่อน มั่วสุม เสพ สูบบุหรี่ และ สารเสพติด กลายเป็นปัญหาของครอบครัว ผู้ปกครอง และ สังคม บุหรี่ เป็นสารเสพติดประเภทหนึ่ง และ เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิต อันดับที่สามของคนไทย รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย และ การดื่มสุรา คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ปีละ 42000 - 52000 คน ผู้สูบบุหรี่ โดยเฉลี่ยอายุจะสิ้นลง 12 ปี และ จะป่วยหนัก 1-7 ปี ก่อนจะเสียชีวิต จากการสำรวจการสูบบุหรี่ของเด็กเยาวชน เริ่มทดลองสูบบุหรี่ตั้งแต่อายุ 10 ขวบ ขึ้นไป และ เริ่มสูบมาก อายุ 13-15 ปี บุหรี่เป็นสารเสพติดชนิดแรก ที่เด็กเยาวชนเข้าไปเสพติด ก่อนที่จะเข้าไปติดสิ่งเสพติดอื่นๆ ดังนั้นเทศบาลตำบลรางหวายจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มงบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดป้ายประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ โทษพิษภัยของบุหรี่ และ สารเสพติดเพิ่มขึ้น เยาวชน มีสุขภาพที่ดีขึ้น ร่างกายจิตใจดี การเรียนดีขึ้น เยาวชน ร่วมกิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ และ ส่วนรวมเพิ่มขึ้น เป็นคนดีของครอบครัว ไม่เป็นภาระต่อสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่

วันที่ 26 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

มีการเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ ในตำบลรางหวาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กเยาวชนประชาชนลดละ เลิกการสูบบุหรี่ สถาบันครอบครัวสังคม มีความเข้มแข็ง ประชาชนมีสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่แข็งแรงปลอดจากโรค

 

350 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มงบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นเป็น (บาท)
10000.00 12000.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
20.00 25.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนมาตรการ)
10.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มงบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (3) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดป้ายประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ลดละเลิกบุหรี่ จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด