กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562 ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายฟัยซอล บิลโส๊ะ รองประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า,นายขวัดต๊ะ ทองนิตย์ เลขาอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า,นายมะมูด สวัสดี ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-l7255-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤศจิกายน 2561 ถึง 31 มกราคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-l7255-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤศจิกายน 2561 - 31 มกราคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรัง คือ โรคที่เมื่อเป็นแล้วมักไม่หายขาดผู้ป่วยจะเป็น ๆ หาย ๆ ต้องรักษาหรือกินยาต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคเหล่านี้ทางการแพทย์ถือว่าเกี่ยวพันเป็นสาเหตุซึ่งกันและกันและการดูแลรักษาต้องทำไปพร้อม ๆ กัน แต่ที่สำคัญที่สุดคือต้องป้องกันมิให้เกิดความผิดปกติเหล่านี้ขึ้นในประชากรเพราะทำให้มีความเสี่ยงต่อโรคร้ายแรงที่จะเกิดตามมา คือ โรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ของคนไทย โรคเรื้อรังมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมของคนเราเองโดยเฉพาะอย่างยิ่งการดำรงชีวิตและการกินอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสการพัฒนาจากสังคมชนบทสู่สังคมเมืองและอิทธิพลที่ได้รับจากวัฒนธรรมภายนอกในยุคโลกไร้พรมแดน ตัวอย่างเช่น คนไทยซึ่งแต่เดิมกินอาหารหลัก คือ ข้าว ผัก และปลา และดำเนินชีวิตอยู่ในสวน ไร่นา ใช้กำลังแรงงานในการประกอบอาชีพมีความสุขกายสบายใจในความเป็นอยู่แบบพอเพียงในชนบท เมื่อพลิกผันมาอยู่ในสังคมเมืองต้องมีวิถีชีวิตที่เร่งรีบทำให้ไม่มีเวลาพอที่จะปรุงอาหารประจำวันจากผลผลิตธรรมชาติและใช้ชีวิตในวิถีธรรมชาติ นอกจากนี้ระบบการค้าเสรีในสังคมยุคใหม่ทำให้มีการระดมผลิตและโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มเพื่อจูงใจผู้บริโภคทั้งกลุ่มเด็กและผู้ใหญ่อย่างมากมาย เช่น อาหารจานด่วนที่มีสารอาหารไม่ครบหมู่ มีแป้ง ไขมัน และน้ำตาล มากเกินไป เครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของน้ำตาลสูงมีสารปรุงแต่งที่มีพิษภัยต่อสุขภาพรวมทั้งของกินเล่นแบบกรุบกรอบ ชวนให้กินจนเกินความต้องการของร่างกาย ชีวิตในเมืองที่เร่งรีบและผลจากการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารปรุงแต่งทำให้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่มีพฤติกรรมการกินอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปโดยกินอาหารไม่ครบ ๕ หมู่ อาหารมีส่วนผสมของไขมัน แป้ง น้ำตาล สูงเกินความต้องการและไม่เป็นไปตามหลักโภชนาการ นอกจากนี้คนยุคใหม่ยังมีความเครียดจากการแข่งขันสูงและขาดการออกกำลังกายที่จะช่วยเผาผลาญพลังงานส่วนเกิน
เพราะฉะนั้นการตระหนักถึงอาหารในการบริโภคในแต่ละมื้อ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ ไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วย หรือกลุ่มเสี่ยง มีสุขภาพที่ดีขึ้น เครือข่ายสาธารณสุข เทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนบ้านเก่า และเครือข่ายสาธารณสุขฯ ใกล้เคียง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคเรื้อรัง จึงได้จัดทำโครงการ "โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร " ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  2. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  3. เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
  4. เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
  5. เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
  6. เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
  7. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
  8. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการหันมารับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง
  9. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเฉพาะโรค ทั้งภาคทฤษฎีและปฎิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1มีความรู้ความเข้าใจในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง 3 ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเฉพาะโรค ทั้งภาคทฤษฎีและปฎิบัติ

วันที่ 27 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562


กิจกรรม
ลงทะเบียน
อบรม/กิจกรรมกลุ่ม เรื่อง เป็นโรค แล้วจะกินอย่างไร / ปฏิบัติการทำอาหารเฉพาะโรค (วิทยากร 3 คน)
รับประทานอาหารกลางวัน
อบรม / กิจกรรมกลุ่ม เรื่อง ป้องกัน ควบคุมโรค จะกินอย่างไร/น้ำผักปั่น (วิทยากร 2 คน)

หมายเหตุ พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.30 - 10.45 น. และ เวลา15.15 - 15.30 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1มีความรู้ความเข้าใจในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2 ผู้เข้าร่วมโครงการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง 3 ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
50.00 45.00

 

2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
60.00 50.00

 

3 เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด
20.00 20.00

 

4 เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
20.00 20.00

 

5 เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน
20.00 20.00

 

6 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
50.00 35.00

 

7 เพื่อให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : มีให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
50.00

 

8 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการหันมารับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการหันมารับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง
50.00

 

9 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ  (2) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (3) เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) (4) เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ (5) เพิ่มครัวเรือนที่มีการจัดเก็บพันธุ์ข้าว ผัก และมีการเพาะพันธุ์ปลา กุ้ง ปู ในชุมชน (6) เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง (7) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ (8) เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการหันมารับประทานอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถทำได้เอง (9) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเฉพาะโรค ทั้งภาคทฤษฎีและปฎิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหาร ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-l7255-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฟัยซอล บิลโส๊ะ รองประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า,นายขวัดต๊ะ ทองนิตย์ เลขาอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า,นายมะมูด สวัสดี ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนบ้านเก่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด