กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสุกรี กาลีโลน

ชื่อโครงการ โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะ ถือว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้นและสิ่งทีตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้นแม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทิวทัศทั้งกลิ่น ความสะอาด เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมืองถึงแม้ในปีหนึ่งๆประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการขยะแต่ผลลัพท์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจประกอบกับประชาชนในชุมชนก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางไม่มีการขัดแยกขยะก่อนทิ้งรวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
ในการจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นเราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆก่อนด้วยการปลูกฝั่งจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนก่อน จัดกิจกรรมให้สมาชิกในครอบครัวได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะแล้วก็สามารถขยายผลไปยังภาพรวมของชุมชนต่อไปโดยหวังผลว่า การลดขยะตกค้างในชุมชน จะช่วยทำให้หมู่บ้านสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยลดแหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชนสมาชิกในชุมชนมีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน
  2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ
  3. เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตลาดนัดรีไซเคิล
  2. สร้างความตื่นตัวและการรับรู้ของชุมชน
  3. ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 5 บ้านควน 501

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หมู่บ้านน่าอยู่ สะอาดมีความเป็นระเบียบ เรียบร้อย
2.ลดปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างในชุมชน
3. สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตลาดนัดรีไซเคิล

วันที่ 29 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีจำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดขยะรีไซเคิล จำนวน 50 ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถรวบรวมขยะรีไซเคิลเข้าระบบการแปลรูปได้ ประมาณ 703 กก.

 

50 0

2. สร้างความตื่นตัวและการรับรู้ของชุมชน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจปริมาณขยัในครัวเรือน และรณรงค์ผานรถประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถออกข้อกำหนดได้ จำนวน 11 มาตรการ

 

15 0

3. ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

วันที่ 26 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคม จากตัวแทน 100 ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถกำหนดข้อตกลงทางสังคมได้ จำนวน 11 มาตรการ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน
ตัวชี้วัด : (ร้อยละ) ถังขยะที่ไม่มีขยะมูลฝอยล้นถัง ใน 1 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
80.00

 

2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมตลาดนัดรีไซเคิล (ครัวเรือน)
150.00

 

3 เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านเกิดข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน อย่างน้อย 3 มาตรการ
4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 501
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
จำนวนครัวเรือน หมู่ที่ 5 บ้านควน 501

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างในชุมชน (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะรีไซเคิล เข้าสู่ระบบการใช้ซ้ำ (3) เพื่อสร้างข้อตกลงทางสังคมในการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตลาดนัดรีไซเคิล (2) สร้างความตื่นตัวและการรับรู้ของชุมชน (3) ประชุมกำหนดข้อตกลงทางสังคมเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดขยะมูลฝอยตกค้างเพื่อ บ้านควนสะอาด น่าอยู่ ปลอดแหล่งเพาะพันธุ์โรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกรี กาลีโลน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด