กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-1-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2476-1-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่าย ทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่ออาจ สามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆมีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาดเมื่อมีการถ่ายทอดไปยังผู้อื่นแสดงว่ามีการะบาดของโรคนั้นขึ้นและจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดและการป้องการที่ได้มาตรฐานเพื่อลดอัตราการป่วยตายและการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้น
โรคหัดก็เป็นโรคติดต่ออีกโรคหนึ่ง ที่มีลักษณะอาการของโรค คือ ไข้ออกผื่น พบได้ทุกวัย และพบได้บ่อยในเด็กเล็ก อายุ 1 - 6 ปี เกิดจากเชื้อไวรัส Measles ซึ่งพบได้ในจมูกและลำคอของผู้ป่วย ติดต่อกันได้ง่ายมาก โดยการไอ จาม หรือพูดกันในระยะใกล้ชิด เชื้อไวรัสจะกระจายอยู่ในละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย และเข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจ บางครั้งเชื้ออยู่ในอากาศเมื่อหายใจเอาละอองที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสเข้าไป ก็ทำให้เป็นโรคได้ ถ้าไม่มีภูมิต้านทาน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีน นอกจากนี้โรคหัดยังอาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้จากข้อมูลสถานการณ์โรคหัดในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอตั้งแต่เดือนตุลาคม -พฤศจิกายน 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตรา 557.10 ต่อแสนประชากร ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคหัดเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาการระบาดของโรคในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มี่ส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและป้องกันไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
  3. เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรกและเข็มที่สอง ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
  4. เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนหัดกับหลักศาสนา
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนหัดกับหลักศาสนา

วันที่ 13 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมชี้แจงพร้อมทั้งให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวัคซีนหัดกับหลักสาสนาอิสลามแก่ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำแม่อาสา
  2. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีนตามที่นัดและกลุ่มที่ไม่เคยมารับบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการป่วย/ตามด้สนโรคหัดในพื้นที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง
  2. เด็กที่อายุ 9 เดือน ถึง 2 ปี 6 เดือน ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดครบทั้ง 2 เข็ม ครอบคลุมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 95

 

80 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 13 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์หากลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการอบรมตามโครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ -4 และหมู่ที่ 8 ประจำปีงบประมาณ 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคหัดในพื้นที่ลดลง
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง และได้ตระหนักถึงการรับวัคซีนป้องกันโรคหัดของเด็ก

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มี่ส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและป้องกันไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรกและเข็มที่สอง ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มี่ส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและป้องกันไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค (3) เพื่อให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดเข็มแรกและเข็มที่สอง ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 (4) เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับชุมชนในการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับวัคซีนหัดกับหลักศาสนา (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคหัด หมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2476-1-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด