กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค ”
ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าธง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4159-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4159-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,626.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 57 กล่าวว่า “ ประชาชนต้องได้รับการคุ้มครองในฐานะผู้บริโภค ด้านสุขภาพอย่างเสมอกัน” โดยให้สำคัญกับเรื่องสิทธิในฐานะผู้บริโภคไม่ให้ผู้ใดมาเอารัดเอาเปรียบหรือยัดเยียดให้ซื้อและบริโภคแต่เฉพาะสิ่งที่ผู้ประกอบการหรือผู้ขายเป็นผู้กำหนดให้ ทั้งชนิด ปริมาณ ราคา และคุณภาพ หรือแม้แต่สิ่งเจือปนด้วยสารพิษอันเป็นการทำลายสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่ง การคุ้มครองผู้บริโภค หมายถึง การปกป้องดูแลผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัย เป็นธรรมและประหยัดจากการบริโภคสินค้าและบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัยจากการใช้บริการด้านสุขภาพและผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ ไม่ว่าเป็น อาหารยาเครื่องสำอางผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆที่มีผลกระทบต่อสุขภาพโดยกำหนดสิทธิในการเข้าถึงด้านสุขภาพที่เหมาะสม สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้ เป็นต้น สถานการณ์ปัจจุบันได้มีสินค้าและการบริการที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้นในการดำเนินการด้านคุ้มครองผู้บริโภคที่ผ่านมา ภาคประชาชนเข้ามาทีบทบาทน้อยทำให้ขาดการมีส่วนร่วมและพัฒนาที่ยั่งยืนและการได้รับข้อมูลข่าวสารไม่เพียงพอ ทำให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบการหรือผู้จำหน่ายสินค้าและบริการ
ในพื้นที่ตำบลท่าธง มีร้านอาหาร ร้านชำ ร้านก๋วยเตี๋ยว แผงลอย รวมถึงตลาดนัดจำนวนหลายแห่งกระจายตามหมู่บ้าน ซึ่งผู้ประกอบการหรือเจ้าของร้าน ก็ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อที่จะได้ขายสินค้าที่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค รวมทั้งโรงเรียนที่บุคลากรและนักเรียนในโรงเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย เพื่อสุขภาพของบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.ท่าธง ได้เห็นความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภคและเฝ้าระวัง ป้องกันอาหารปลอดภัย จึงได้จัดโครงการการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเสริมสร้างศักยภาพการทำงานของเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคที่ประกอบด้วย อสม.,อย.น้อย,ครูอนามัยโรงเรียน รวมถึง การพัฒนาเสริมสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร เป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสมอันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหาร ภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย
  2. 2. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคใน ชุมชน
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอย.น้อยและครูอนามัยโรงเรียน ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน
  4. 4.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้รับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคร้อยละ 80 2. ร้านอาหาร /ร้านชำ/ร้านก๋วยเตี๋ยว/แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคแก่กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย อสม.,อย.น้อย,ครูอนามัยโรงเรียน,ผู้ประกอบการ,แกนนำชุมชนและประชาชน รุ่นที่ 1

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน เข้าร่วม 130 คน คิดเป็นร้อยละ 100

     

    65 65

    2. อบรมให้ความรู้เรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคแก่กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย อสม.,อย.น้อย,ครูอนามัยโรงเรียน,ผู้ประกอบการ,แกนนำชุมชนและประชาชน รุ่นที่ 2

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน เข้าร่วม 130 คน คิดเป็นร้อยละ 100

     

    65 65

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหาร ภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคใน ชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอย.น้อยและครูอนามัยโรงเรียน ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านจำหน่ายอาหาร ภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย (2) 2. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคใน ชุมชน (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอย.น้อยและครูอนามัยโรงเรียน ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (4) 4.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักและเฝ้าระวังตนเองจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาองค์ความรู้งานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4159-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าธง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด