กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-05-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 ธันวาคม 2561 ถึง 21 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3013-05-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 ธันวาคม 2561 - 21 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,625.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหัดระบาดหนักในทุกอำเภอของจังหวัดปัตตานี ยอดผู้ป่วย 1,119 คน (อัตราป่วย 159.64) เสียชีวิตแล้ว 10 คน (อัตราตาย 1.43) ซึ่งผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ได้รับวัคซีน พบผู้ป่วยสูงสุดในช่วงอายุ ค่ำกว่า 1 ปี คิดเป็น 992.84 ต่อแสนประชากร รองลงมา อายุ 1-4 ปี คิดเป็น 428.41 ต่อแสนประชากร โรคหัดที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ขณะนี้นั้น ยืนยันว่าโรคหัดมีวัคซีนป้องกันได้ 100 % ดังนั้นจึงอยากให้ประชาชนที่เป็นโรคหัดต้องระมัดระวังตัวเอง โรคหัดไม่มีอันตรายรุนแรงมาก แต่ที่อันตรายเพราะมีโรคแทรกซ้อนแล้วไม่ได้ระมัดระวัง ยังเป็นโรคที่ป้องกันได้

ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา เร่งรณรงค์ป้องกันการระบาดของการเกิดโรคเร่งด่วน จึงรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือประชาชนทุกคน ทุกครอบครัว นำเด็กที่อายุ 9 เดือน ถึง 5 ปีไปรับการฉีดวัคซีน เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรค เชื่อมั่นว่าถ้าให้ความร่วมมือในการป้องกัน จะสามารถหยุดยั้ง และสร้างสุขภาพให้กับประชาชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น
  2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมวางแผนงานรณรงค์
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคหัดและการรับวัคซีนป้องกันโรค
  3. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ป้องกันโรคหัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดได้ครบตามเกณฑ์วัคซีน
  2. พ่อแม่ ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการให้บุตรหลานรับวัคซีนเพิ่มขึ้น
  3. เครือข่ายในชุมชน ได้แก่ ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตาดีกา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาเด็กปฐมวัยได้รับวัคซีน
  4. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวกและเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรค
  5. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  6. เครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชน มีความเข้าใจที่ถูกต้องและมีส่วนร่วมในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมวางแผนงานรณรงค์

วันที่ 19 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมวางแผนงานรณรงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

 

60 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคหัดและการรับวัคซีนป้องกันโรค

วันที่ 20 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

55 0

3. กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ป้องกันโรคหัด

วันที่ 21 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
0.00

 

3 เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สามารถครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.  เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน ให้ความสำคัญ มีความเชื่อและทัศนคติทางบวก และเห็นประโยชน์ของวัคซีนป้องกันโรคมากขึ้น (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน มีความรู้เรื่องการป้องกันโรคจากวัคซีน วิธีการดูแลภายหลังฉีดวัคซีน ความรุนแรงและผลกระทบจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) เพื่อให้ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัดเด็กอายุ ๐-๕ ปี และกลุ่มผู้สัมผัสผ่านเกณฑ์ในพื้นที่เป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมวางแผนงานรณรงค์ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคหัดและการรับวัคซีนป้องกันโรค (3) กิจกรรมรณรงค์  ประชาสัมพันธ์  ป้องกันโรคหัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคหัด จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3013-05-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด