กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการชุมชนนาโต๊ะกา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-3-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8291-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,532.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมของคนไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคม ต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดำเนินไปเรื่อยๆ โดยทรัพยากรสำคัญที่สุด คือ ทรัพยากรมนุษย์นั้นไม่ยั่งยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และจิตใจรวมทั้งมีภูมิ ต้านทานโรค สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาลของประชาชน และเป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมการออกกำลังกายได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ห่างไกลยาเสพติด และเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีและสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ซึ่งที่ผ่านมาทางชุมชนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการเล่นกีฬา เปตองเพื่อสุขภาพให้แก่ประชาชนทุกกลุ่มวัยในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาว และมีการร่วมเล่นกับชุมชนต่างๆอย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการชุมชนนาโต๊ะกา ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน จึงได้มีการจัดประชุมปรึกษาหารือระดมความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหา เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการเล่นกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน และสร้างความรักสามัคคีในชุมชน ในการจัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย การมีสุขภาพที่แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน และส่งเสริมสุขภาพจิต และให้กลุ่มเยาวชนหลีกไกลจากสารเสพติดและการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งสร้างแกนนำในการออกกำลังกายของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. - เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพแข็งแรง
  2. - เพื่อให้รู้จักกฎ กติกา มารยาทของกีฬาเปตอง
  3. - เพื่อให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชนในชุมชนได้ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีการเอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น ส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพแข็งแรง ลดการเสี่ยงในการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
  • ประชาชนในชุมชนเกิดความรักและคุ้นเคย เกิดความสามัคคีสนิทสนมกลมเกลียว
  • ประชาชนมีสุขภาพกายและจิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ภาคทฤษฎี  จัดอบรมให้ความรู้
  • ภาคปฏิบัติ  เล่นเปตอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีแกนนำในการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง อย่างน้อย 5 คน
  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกเพศ ทุกวัย และมีการเล่นเปตองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน
  • ผลการประเมินสภาวะทางร่างกายเปรียบเทียบก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม มีผลดดยรวมดีขึ้นร้อยละ 70

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 - เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพแข็งแรง
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกเพศ ทุกวัยและมีการเล่นเปตองอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน
0.00

 

2 - เพื่อให้รู้จักกฎ กติกา มารยาทของกีฬาเปตอง
ตัวชี้วัด : - มีแกนนำในการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตองอย่างน้อย ๕ คน
0.00

 

3 - เพื่อให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน
ตัวชี้วัด : - ผลการประเมินสภาวะทางร่างกายเปรียบเทียบก่อนและหลัง การเข้าร่วมกิจกรรม มีผลโดยรวมดีขึ้นร้อยละ ๗๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) - เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพแข็งแรง (2) - เพื่อให้รู้จักกฎ กติกา มารยาทของกีฬาเปตอง (3) - เพื่อให้ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน เบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนดี ไม่มีโรค เพียงแค่เล่นเปตองเท่านั้น จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8291-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คณะกรรมการชุมชนนาโต๊ะกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด