โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ ”
อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองนาสาร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑
ที่อยู่ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง (3) จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน (4) จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน (6) จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน (7) จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. ) (8) ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (9) ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลและการเฝ้าระวังทางสุขภาพเป็นแนวทางในการลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ ความดันโลหิต เบาหวาน มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือดสมอง เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตภาคแรงงาน และลดรายจ่ายด้านสุขภาพ โดยประชาขนจะต้องดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และควบคุมความเครียด ซึ่งถือเป็นวิธีการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนทั้งยังเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวและของประเทศ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ประชาชนยังต้องเฝ้าระวังสุขภาพของตนเองไม่ให้เกิดโรคและลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตด้วยการตรวจสุขภาพเป็นประจำ โดยการสัมภาษณ์ใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) ประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปทุกราย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อตรวจดัชนีมวลกาย (BMI)วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต คัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด ในประชาชนกลุ่มอายุ ๓5 ปีขึ้นไป
จากผลการคัดกรองและสำรวจของศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองนาสารร่วมกับอสม.ในเขตเทศบาลเมืองนาสาร ในปี ๒๕๖๐ มีประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๓,๒๐๐ คน ผลงานที่ได้ ๑,๘๙๓ คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ๕๙.๑๖ % พบว่ามีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๖๘๘ คน และประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเป้าหมาย ๓,๙๘๗ คน ผลงานที่ได้จำนวน ๒,๒๖๗ คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ๕๖.๘๖ เปอร์เซ็นต์ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน ๑๖๐ คน และประชาชนที่ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๓๐ คน ได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองนาสาร ร่วมกับ อสม.ในเขตเทศบาลเมืองนาสาร จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี256๑ ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพและดำเนินการแก้ไขปัญหาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต
- 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ
- 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
- ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง
- จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน
- จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค
- ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน
- จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน
- จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. )
- ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ
- ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
6,018
กลุ่มวัยทำงาน
4,293
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 90 ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาความเสี่ยงของโรค ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์อัมพาต
- ประชาชนเกิดความรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก และมีความรู้ในการดุแลสุขภาพตนเองด้วยการตรวจคัดกรองเฝ้าระวังสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
- ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเครือข่ายอื่นๆในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมสุขภาพ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งและพัฒนาบทบาทการเป็นผู้นำด้านสุขภาพนำไปสู่การพึ่งตนเองของชุมชนต่อไป
- ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม ทันเวลา ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ที่จะเกิดขึ้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมาย 3,436 คน ผลงานที่ได้ 3,141 คน (91.41%)
พบมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 327 คน (10.41 %)
-คัดกรองโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย 4,133 คน ผลงานที่ได้ 3,830 คน (92.67 %)
พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 570 คน (14.88 %)
-ประชาชนที่ตรวจพบความผิดปกติ โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 139 คน
โรคเบาหวาน 62 คน ได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต
6018.00
6,970.00
2
2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ
6018.00
6,970.00
3
3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
10311
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
6,018
กลุ่มวัยทำงาน
4,293
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง (3) จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน (4) จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน (6) จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน (7) จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. ) (8) ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (9) ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองนาสาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ ”
อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองนาสาร
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนาสาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง (3) จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน (4) จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน (6) จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน (7) จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. ) (8) ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (9) ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลและการเฝ้าระวังทางสุขภาพเป็นแนวทางในการลดอัตราเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ ความดันโลหิต เบาหวาน มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือดสมอง เพื่อนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตภาคแรงงาน และลดรายจ่ายด้านสุขภาพ โดยประชาขนจะต้องดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ควบคุมน้ำหนัก ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และควบคุมความเครียด ซึ่งถือเป็นวิธีการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนทั้งยังเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัวและของประเทศ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ประชาชนยังต้องเฝ้าระวังสุขภาพของตนเองไม่ให้เกิดโรคและลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตด้วยการตรวจสุขภาพเป็นประจำ โดยการสัมภาษณ์ใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) ประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปทุกราย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อตรวจดัชนีมวลกาย (BMI)วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต คัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด ในประชาชนกลุ่มอายุ ๓5 ปีขึ้นไป จากผลการคัดกรองและสำรวจของศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองนาสารร่วมกับอสม.ในเขตเทศบาลเมืองนาสาร ในปี ๒๕๖๐ มีประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๓,๒๐๐ คน ผลงานที่ได้ ๑,๘๙๓ คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ๕๙.๑๖ % พบว่ามีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๖๘๘ คน และประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มเป้าหมาย ๓,๙๘๗ คน ผลงานที่ได้จำนวน ๒,๒๖๗ คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ๕๖.๘๖ เปอร์เซ็นต์ พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน ๑๖๐ คน และประชาชนที่ตรวจพบความผิดปกติ จำนวน ๓๐ คน ได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองนาสาร ร่วมกับ อสม.ในเขตเทศบาลเมืองนาสาร จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี256๑ ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพและดำเนินการแก้ไขปัญหาต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต
- 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ
- 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
- ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง
- จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน
- จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค
- ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน
- จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน
- จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. )
- ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ
- ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 6,018 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 4,293 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 90 ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาความเสี่ยงของโรค ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์อัมพาต
- ประชาชนเกิดความรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก และมีความรู้ในการดุแลสุขภาพตนเองด้วยการตรวจคัดกรองเฝ้าระวังสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
- ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และเครือข่ายอื่นๆในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมสุขภาพ ส่งผลให้มีความเข้มแข็งและพัฒนาบทบาทการเป็นผู้นำด้านสุขภาพนำไปสู่การพึ่งตนเองของชุมชนต่อไป
- ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม ทันเวลา ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ที่จะเกิดขึ้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
-คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมาย 3,436 คน ผลงานที่ได้ 3,141 คน (91.41%) พบมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 327 คน (10.41 %) -คัดกรองโรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย 4,133 คน ผลงานที่ได้ 3,830 คน (92.67 %) พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 570 คน (14.88 %)
-ประชาชนที่ตรวจพบความผิดปกติ โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 139 คน
โรคเบาหวาน 62 คน ได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต |
6018.00 | 6,970.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ |
6018.00 | 6,970.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 10311 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 6,018 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 4,293 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนอายุอย่างน้อยร้อยละ 90 ได้รับบริการตรวจคัดกรอง ค้นหาความผิดปกติและภาวะเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วนและอัมพฤกษ์ อัมพาต (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสร้างกระแสให้ประชาชนเกิดการรับรู้ ตื่นตัว ตระหนัก ตรวจเฝ้าระวังและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอ (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อดูแลรักษาตามความเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจประชาชนกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในชุมชน โดยอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) ประชุมชี้แจง และอบรมอสม. เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจคัดกรอง (3) จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานได้อย่างเพียงพอและครบถ้วน (4) จัดทำและสนับสนุนสื่อ โปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์โครงการ แผ่นพับ ความรู้เรื่องโรค (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ครอบคลุม ๑๑ ชุมชน (6) จัดบอร์ดความรู้ ตามหลัก 3 อ. 2 ส. เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคอ้วน (7) จัดกิจกรรมวันเบาหวานโลก (14 พ.ย.) วันความดันโลหิตสูงโลก (17 พ.ค.) วันอัมพฤกษ์อัมพาตโลก (24 พ.ค.) วันหัวใจโลก (สัปดาห์สุดท้ายเดือน ก.ย. ) (8) ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ (9) ส่งต่อผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพในประชาชน ปี ๒๔๖๑ จังหวัด สุราษฎร์ธานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองนาสาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......