โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจ ชาญแท้
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว)
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2486-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2486-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีของประชาชนถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตและการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมให้คนมีสุขภาพดีไม่เกิดการเจ็บป่วยเป็นสิ่งที่ดี ในปัจจุบันพบการปนเปื้อนของอาหารที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญผู้จำหน่ายบางรายอาจไม่ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายว่ามีการปนเปื้อนสารต่างๆ หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคนั้น ต้องปลอดภัยปราศจากเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบด้วยการควบคุมมาตรฐานสถานประกอบการ การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพหลังวางจำหน่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและผู้ประกอบการรวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย
ซึ่งในปี 2559 ได้มีการจัดให้มีกิจกรรมในระดับ คปสอ.ตากใบ (คณะกรรมการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขอำเภอตากใบ) เช่น ประกวดร้านชำปลอดภัยห่วงใยผู้บริโภค ทั้งนี้จากการดำเนินงานภายในปี 2559 ยังพบปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ การขายยาอันตรายในร้านชำ อาหารฉลากไม่ครบถ้วน อาหารไม่มีฉลาก ไม่มีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ฯลฯ ทำให้ความสำเร็จในการดำเนินงานยังน้อย เช่น ร้านชำในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทรายขาว มีร้านชำทั้งหมด 20 ร้าน มีร้านที่ไม่ผ่านตามมาตรฐาน 8 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 40 (ตามเกณฑ์แบบตรวจ รช.นธ.1) จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อเร่งแก้ไขปัญหาข้างต้นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
77
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการที่เป็นผู้จำหน่ายและผู้ผลิต มีการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น
- ร้านขายของชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
77
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
77
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2486-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวิโรจ ชาญแท้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจ ชาญแท้
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2486-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2486-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพดีของประชาชนถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตและการพัฒนาประเทศ การส่งเสริมให้คนมีสุขภาพดีไม่เกิดการเจ็บป่วยเป็นสิ่งที่ดี ในปัจจุบันพบการปนเปื้อนของอาหารที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญผู้จำหน่ายบางรายอาจไม่ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายว่ามีการปนเปื้อนสารต่างๆ หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคนั้น ต้องปลอดภัยปราศจากเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ภารกิจงานคุ้มครองผู้บริโภค ประกอบด้วยการควบคุมมาตรฐานสถานประกอบการ การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพหลังวางจำหน่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและผู้ประกอบการรวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย
ซึ่งในปี 2559 ได้มีการจัดให้มีกิจกรรมในระดับ คปสอ.ตากใบ (คณะกรรมการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขอำเภอตากใบ) เช่น ประกวดร้านชำปลอดภัยห่วงใยผู้บริโภค ทั้งนี้จากการดำเนินงานภายในปี 2559 ยังพบปัญหาเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ การขายยาอันตรายในร้านชำ อาหารฉลากไม่ครบถ้วน อาหารไม่มีฉลาก ไม่มีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ฯลฯ ทำให้ความสำเร็จในการดำเนินงานยังน้อย เช่น ร้านชำในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทรายขาว มีร้านชำทั้งหมด 20 ร้าน มีร้านที่ไม่ผ่านตามมาตรฐาน 8 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 40 (ตามเกณฑ์แบบตรวจ รช.นธ.1) จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อเร่งแก้ไขปัญหาข้างต้นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 77 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ประกอบการที่เป็นผู้จำหน่ายและผู้ผลิต มีการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น
- ร้านขายของชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 77 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 77 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 50 และมีร้านชำต้นแบบระดับ รพ.สต. 1 ร้าน (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้หลักเกณฑ์ร้านขายของชำที่ได้มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลใส่ใจร้านค้าแผงลอยและร้านขายของชำ (รพ.สต.บ้านทรายขาว) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2486-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวิโรจ ชาญแท้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......