กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธีราพร ตาดำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L7257-7(1)-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-L7257-7(1)-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,832.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ในช่วงหน้าฝน หลายคนมักจะได้ยินข่าวคราว “โรคมือเท้าปาก” ระบาดบ่อยครั้งโดยเฉพาะในเด็กเล็กช่วงเปิดเทอม จนหลายโรงเรียนต้องประกาศหยุดเรียน โดยโรคนี้เกิดจากเชื้อไวรัสลำไส้หลายชนิด พบได้บ่อยในเด็กทารก และเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในโรงเรียนอนุบาล สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์เด็กเล็ก สถานที่เล่นของเด็กในห้างสรรพสินค้า โดยโรคนี้เกิดประปรายตลอดปี แต่จะเพิ่มมากขึ้นในฤดูฝนซึ่งอากาศเย็นและชื้น การติดต่อส่วนใหญ่เกิดจากได้รับเชื้อไวรัสเข้าสู่ปากโดยตรง โดยเชื้อไวรัสติดมากับมือหรือของเล่นที่เปื้อนน้ำลาย น้ำมูก น้ำจากตุ่มพองและแผล หรืออุจจาระของผู้ป่วย จากการไอจามรดกัน ทางผู้ดูแลเด็กหรือคุณครูประจำโรงเรียนหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ต้องเน้นย้ำผู้ปกครองและสถานศึกษาช่วยกันดูแลสังเกตอาการเด็กในความปกครองอย่างสม่ำเสมอ หากมีอาการไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย มีอาการเจ็บปาก มีตุ่มแดงที่ปาก กระพุ้งแก้ม ลิ้น หรือบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า ให้พิจารณาหยุดเรียนและรักษาจนหาย ทั้งนี้ ควรแจ้งให้ทางโรงเรียนหรือศูนย์เด็กเล็กทราบ เพื่อทำการค้นหาเด็กที่อาจป่วยเพิ่มเติม หากอาการไม่ดีขึ้น หรือมีไข้ขึ้นสูง ซึมลง เดินเซ ชัก เกร็ง หายใจหอบเหนื่อย อาเจียนมาก ต้องรีบไปพบแพทย์ทันที เพราะอาจติดเชื้อสายพันธุ์รุนแรง เสี่ยงถึงขั้นเสียชีวิตได้     สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก ข้อมูลสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 20 สิงหาคม 2561 พบผู้ป่วย    41,702 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเด็กเล็ก อายุ 1 - 3 ปี จากข้อมูลตั้งแต่เข้าฤดูฝน ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมที่ผ่านมา  มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบผู้ป่วยเดือนละกว่า 10,000 คน ซึ่งขณะนี้หลายสถานศึกษากำลังเข้าสู่ช่วงเปิดภาคเรียนใหม่ ประกอบกับช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนือง ซึ่งโรคที่มักเกิดกับเด็กในช่วงเปิดเทอม คือ โรคมือ เท้า ปาก โดยมักเกิดในสถานที่ที่มีเด็กอยู่รวมกันจำนวนมาก    กรมควบคุมโรค จึงขอแนะนำให้ผู้เลี้ยงดูเด็กในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล และสถานรับเลี้ยงเด็ก ได้ตระหนักและระมัดระวังโรคที่เกิดการแพร่กระจายเชื้อโรคสู่กันได้ง่าย โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ     งานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ ได้เล็งเห็นถึงสถานการณ์การเกิดโรคซึ่งพบผู้ป่วยเป็นประจำในแต่ละปี และโรคนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกัน แต่ป้องกันได้โดยการรักษาสุขอนามัย จึงตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กในความปกครองให้ห่างไกลจากโรคมือ เท้า ปาก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ 2562 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคมือ เท้า ปากที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก
  2. 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ดูแลเด็กและนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงแนวทางในการป้องกันโรคมือ เท้า ปาก 2. ปริมาณผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดน้อยลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก

วันที่ 25 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ 2562ดยจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรค สาเหตุ อาการ การรักษา วิธีการป้องกัน และการปฏิบัติเมื่อเกิดมีการระบาดของโรคเกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้แก่ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ ทั้ง 4 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 233 คน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กค่ายเสนาณรงค์      จำนวน 64 คน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองเปล จำนวน 64 คน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองหวะ  จำนวน 25 คน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งโดน จำนวน 80 คน) ในระหว่างวันที่ 25 มิถุนายน 2562 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม 2562 เวลา 8.30น. - 12.0๐ น. โดยมีนางสาวธีราพร ตาดำ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หัวหน้างานป้องกันและควบคุมโรค กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคอหงส์ เป็นผู้ให้ความรู้ให้แก่ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียน พร้อมมอบวัสดุและอุปกรณ์ในการป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ทั้ง 4 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ233คน

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ดูแลเด็กและนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ 80%
0.00

 

2 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 2. จำนวนคนเป็นโรคมือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ลดลง 80% ของปีที่ผ่านมา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก และนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก (2) 2. เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปาก ซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรค มือ เท้า ปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคมือ เท้า ปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาล เมืองคอหงส์ 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L7257-7(1)-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธีราพร ตาดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด