กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจุรีพรมานะกล้า

ชื่อโครงการ โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2559 ถึง 31 มกราคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 ธันวาคม 2559 - 31 มกราคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการเลี้ยงดูเด็กให้เติบใหญ่เพื่อเป็นประชากรที่มีคุณภาพ และเป็นอนาคตที่ดีของประเทศ บิดา - มารดา จะต้องให้ความสนใจเรื่องการเลี้ยงดูตั้งแต่เริ่มแรก โดยเฉพาะเด็กวัยต่ำกว่า ๖ ปี เป็นช่วยอายุที่ต้องได้รับการดูแลจากครอบครัวเป็นอย่างดี ถ้าบิดา - มารดา หรือ ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้ในการเลี้ยงดูเด็ก และมีพื้นฐานการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสมถูกต้อง ทั้งในยามปกติและยามเจ็บป่วย สามารถสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้กับเด็ก จะส่งผลให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีพัฒนาการทั้งด้าน ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และจิตใจที่สมบูรณ์และสมวัย และจากการสำรวจยังพบเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูไม่เหมาะสม มีปัญหาสุขภาพต่าง ๆ เช่น น้ำหนักเกินหรือต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ เจ็บป่วยบ่อย ได้รับวัคซีนพื้นฐานไม่ครบถ้วน จากการตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตเทศบาลตำบลกำแพง ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ พบว่าเด็กมีปัญหาฟันผุ ร้อยละ ๗๐ - ๘๐ ติดเชื้อทางเดินหายใจ ร้อยละ ๕๐ - ๖๐ ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ ๗๐.๖๕ และยังพบปัญหาพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ ๒๖ ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง และเทศบาลตำบลกำแพง จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้บิดา - มารดา และผู้ปกครองดูแลเอาใจใส่และให้ความสำคัญกับการ่เลี้ยงดูบุตรหลานอย่างถูกวิธีและสร้างสัมพันธ์อันดีในครอบครัว เพื่อให้เด็กเติบใหญ่เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการเลี้ยงดูบุตรหลานอย่างถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดี แข็งแรง ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ให้เหมาะสมกับวัย
  3. เพื่อส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในเรื่องพัฒนาการของเด็กทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ที่เหมาะสมตามวัย ๒. ประชาชนองค์กรของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญในการสนับสนุนในการส่งเสริมทางด้านโครงการ และการพัฒนาเด็ก ซึ่งนำไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพที่ดีในอนาคต


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รับสมัครเด็กเข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองให้ความสำคัญในการเลี้ยงดูบุตรหลานอย่างถูกวิธี

     

    90 98

    2. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลกำแพง ได้รับทราบข้อมูล วัน เวลา การรับสมัครการประกวดสุขภาพเด็ก

     

    500 0

    3. จัดกิจกรรมประกวดเด็ก

    วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในเรื่องพัฒนาการของเด็กทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมที่เหมาะสมกับวัย

     

    90 90

    4. มอบรางวัลและเกียรติบัตรแก่ผู้ชนะ การประกวดในวันเด็กแห่งชาติ

    วันที่ 14 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชน องค์กรของรัฐและเอกชนต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญในการสนับสนุนในการส่งเสริมทางด้านโภชนาการ และการพัฒนาเด็กซึ่งนำไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพที่ดีในอนาคต

     

    6 45

    5. สรปผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการดำเนินงานโครงการเพื่อนำไปพัฒนต่อยอดในปีต่อไป

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงาน     1) ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในเรื่องพัฒนาการของเด็กทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ที่เหมาะสมกับวัย     2) ผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ การเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 88     3) ประชาชน องค์กรภาครัฐ และเอกชนต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญในการสนับสนุนในการส่งเสริมทางด้านโภชนาการ และการพัฒนาเด็กซึ่งนำไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพที่ดีในอนาคร
    2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด     - บรรลุตามวัตถุประสงค์     - จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  จำนวน 98 คน
    3. การเบิกจ่ายงบประมาณ     งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ  25,275  บาท  จ่ายจริง  25,275 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100
    4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน     มี     1. ผู้เข้าร่วมโครงการไม่กล้าเข้าร่วมโครงการกลัวบุตรตนเองไม่กล้าแสดงออกและไม่ได้คะแนน     แนวทางแก้ไข     1. มีการชักชวน พูดคุย อธิบายถึงการเข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการเลี้ยงดูบุตรหลานอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดี แข็งแรง ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ให้เหมาะสมกับวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองให้ความสำคัญกับการเลี้ยงดูบุตรหลานอย่างถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดี แข็งแรง ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ให้เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ชีวีเด่น เน้นที่ครอบครัว จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจุรีพรมานะกล้า )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด