กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ”

ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายทวี บัวชื่น

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8404-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 118,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะของโรคนอกจากจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของประเทศไทยแล้วยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็นเขตร้อนชื้นไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายตัวเมีย กัดคนที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกโดยเฉพาะช่วงที่มีไข้สูงหากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัส มาแพร่ให้กับคนอื่นซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็ก โรคไข้เลือดออกมักจะระบาดในช่วงฤดูฝนยุงลายชอบออกหากินในเวลากลางวันตามบ้านเรือนวัดโรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสถานที่ราชการและชอบวางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำขังเช่นยางรถยนต์จานรองขาตู้กับข้าวเป็นต้น
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปีพ.ศ. 2560 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สํานักระบาดวิทยา ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2560) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมรวม 42,035 ราย อัตราป่วย 64.25 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต 56 ราย อัตราป่วยตาย เท่ากับ ร้อยละ 0.13 อัตราการป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดสงขลา 2,800 ราย อัตราป่วย 199.16 ต่อแสนประชากร เป็นอันดับหนึ่งของประเทศการกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกตามกลุ่มอายุ ส่วนใหญ่พบในกลุ่มอายุ 10-14 ปีมีอัตราป่วยสูงสุด คือ 196.72 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่ กลุ่มอายุ 5-9ปี (139.58), อายุ 15-24 ปี (112.65) อายุ 0-4 ปี (66.07) และอายุ 25-34 ปี (63.72) ตามลำดับ สัดส่วนอาชีพที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน ร้อยละ 43.53 รองลงมาได้แก่ รับจ้าง (ร้อยละ 20.07) และ ไม่ทราบอาชีพ (ร้อยละ 18.57) ตามลำดับผู้ป่วยเพศชาย 21,640ราย เพศหญิง 20,395ราย คิดเป็นอัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิงเท่ากับ 1:0.94 จากสถานการณ์ดังกล่าวอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ 5,6,7,8และ9 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ได้ตระหนักถึงปัญหาจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น โดยมุ่งเน้นกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก มีความรู้ด้านการควบคุมป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การใช้สารเคมีในการควบคุมโรคเมื่อเกิดโรคระบาด อันนำไปสู่การควบคุมและป้องกันโรค โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนบ้านที่พบแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3. เพื่อสร้างบ้านต้นแบบในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ประชาชน อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หมู่บ้านละ 50 คน โดยจัดกิจกรรมทั้งหมด 5 วัน วันละ 1 หมู่บ้าน 1.2 กิจกรรมรณรงค์ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 1.3 กิจกรรมปักธง “บ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย” 1.4 กิจกรรมประกว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านลดลง
  2. จำนวนบ้านที่พบแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายลดลง
  3. มีบ้านต้นแบบในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 4.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากปีที่แล้ว ร้อยละ 20
  4. ลดการระบาดในโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนบ้านที่พบแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3. เพื่อสร้างบ้านต้นแบบในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. ค่า CI <5 2. ค่า HI <10 3. มีบ้านต้นแบบหมู่ละ 5 หลังคาเรือน 4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ข้อที่ 2. เพื่อลดจำนวนบ้านที่พบแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3. เพื่อสร้างบ้านต้นแบบในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 4.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ประชาชน อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หมู่บ้านละ 50 คน โดยจัดกิจกรรมทั้งหมด 5 วัน วันละ 1 หมู่บ้าน  1.2 กิจกรรมรณรงค์ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน  1.3  กิจกรรมปักธง “บ้านนี้ปลอดลูกน้ำยุงลาย” 1.4 กิจกรรมประกว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนหมู่ 5,6,7,8,9ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8404-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวี บัวชื่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด