กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้


“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ”

อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายจวน ประภา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

ที่อยู่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8428-02-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L8428-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการประเมินพัฒนาการเด็กในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของ รพ.สต.นาท่ามใต้ พบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าร้อยละ 1.69นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ปกครองเด็กเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี กว่าร้อยละ 5๐ ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในด้านต่างๆ
เพื่อให้การดูแลพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับการดูแล ประเมินแก้ไขพัฒนาการ เฝ้าระวังด้านพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง และส่งต่อเพื่อการรักษาในรายที่มีปัญหา เพื่อให้เด็กวัยดังกล่าวมีพัฒนาการที่สมวัย เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพต่อไป ดังนั้นทางชมรมอสม.ตำบลนาท่ามใต้เห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.มีความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กและสามารถทดสอบพัฒนาการเด็กได้
  2. ผู้ปกครองเด็กสามารถดูพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการของบุตรตนเองได้ 3 เด็กที่มีพัฒนาการผิดปกติได้รับส่งต่อเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
  3. ร้อยละ 65 ของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
  4. ร้อยละ 95 ของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีเด็ก 0 – 5 ปี เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 155 คน โดยเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีภาวะโภชนาการสมส่วน จำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 79.35 มีภาวะผอม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.58 มีภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.58 มีภาวะท้วม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3.23 มีภาวะเริ่มอ้วน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 และมีภาวะอ้วนจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 5.81 และเมื่อแยกตามหมู่บ้านพบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะโภชนาการสมส่วนมากที่สุด อยู่ในหมู่ที่ 8 บ้านเกาะตะเคียน คิดเป็นร้อยละ 84.21 รองลงมา 84.21 รองลงมา คือหมู่ที่4 บ้านนานอน คิดเป็นร้อยละ 82.14 และหมู่บ้านที่มีภาวะโภชนาการต่ำสุด คือหมู่ที่ 2 บ้านวังหิน คิดเป็นร้อยละ 75.56

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า(คน)
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L8428-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจวน ประภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด