กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง) ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวขวัญฤทัย เอนกรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2543-1-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2543-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี และผู้ดูแลผู้สูงอายุมีการดูแลผู้สูงอายุไม่ต่อเนื่องและดูแลผู้สูงอายุไม่ถูกต้อง ปล่อยให้อยู่เพียงลำพัง สืบเนื่องจากปีพ.ศ.๒๕๖๑ มีผู้สูงอายุจากกลุ่มที่ ๑ กลุ่มติดสังคม เป็นกลุ่มที่ ๒ ติดบ้าน จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๙ ซึ่งเป็นการแสดงถึงการดูแลผู้สูงอายุของผู้ดูแลไม่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างที่ควร จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกายเกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขผู้ดูแลสูงอายุจึงมีบทบาทในการให้ความสนใจดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิมซึ่ง ปัจจุบันพื้นที่รับผิดชอบในเขตรพสต.ในตำบลสุไหงปาดีอำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส มีผู้สูงอายุทั้งหมดจำนวน ๑,๐๙๘ คน แบ่งเป็น กลุ่ม ๑ ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จำนวน ๑,๐๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๙๘กลุ่ม ๒ ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง จำนวน ๕๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๒๘ และกลุ่มที่ ๓ ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้เลย จำนวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๖๓ จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นรพ.สต.บ้านใหม่และรพ.สต.สุไหงปาดี ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็นปัญหาของผู้สูงอายุ จึงได้ร่วมกับส่วนราชการในพื้นที่ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ในการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีในการที่จะดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยในครอบครัวได้
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากผู้ดูแลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 และ 3 มีทักษะความรู้สามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพผู้สูงอายุได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
2.ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 และ 3 ได้รับการดูแลจากผู้ดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

วันที่ 14 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ ๒.๓.๑.๑ จัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วยคณะกรรมการ อสม. ผุ้นำชุมชน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่ วางแผนการดำเนินงานเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ๒.๓.๑.๒ จัดทำแนวทางการดำเนินงานโครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ (ต่อเนื่อง)     ๒.๓.๒ ขั้นดำเนินการ       ๒.๓.๒.๑ เชิญผู้ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ     ๒.๓.๒.๒ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ ๒.๓.๒.๔ กิจกรรมการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องการดูแลผู้สูงอายุในการดูแลฟัน การรับประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและเกิดภาวะพึ่งพิง การออกกำลังกาย การนวดผ่อนคลายความเครียด การทำกายภาพบำบัดในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และการทำกายภาพบำบัดแก่ผู้ป่วยที่มีภาวะข้อติด รวมไปถึงผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤตอัมพาต เมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ศาลาอเนกประสงค์วัดประดิษฐ์บุปผาตำบลสุไหงปาดี  อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๖๕ คน ๒.๓.๒.๕ สรุปผลการดำเนินงาน ประเมินผลโครงการ เพื่อวิเคราะห์หาส่วนที่ขาดในการดำเนินโครงการต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานโครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี  คนใกล้ชิดสุขใจ  (ต่อเนื่อง) ประจำปี  ๒๕๖๒  ได้มีการจัดประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการดำเนินงาน  ซึ่งประกอบไปด้วยอสม.  ผู้นำชุมชน  เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านใหม่  เพื่อวางแผนในการจัดทำโครงการ  และให้อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบชี้แจงและเชิญกลุ่มในเขตพื้นที่เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมาร่วมเข้ารับฟังการดูแลผู้สูงอายุ  การทำกายภาพบำบัดผู้สูงอายุที่บ้าน เมื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุมาร่วมเข้าโครงการอบรมผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านได้  มีความเข้าใจถึงภาวะของโรคในผู้สูงอายุที่ทำให้เกิดภาวะพึ่งพา และสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แก่กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้เบื้องต้น  และรวมไปถึงการทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันการเกิดข้อติดได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ขั้นเตรียมการ ๒.๓.๑.๑ จัดประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินงาน ประกอบด้วยคณะกรรมการ อสม. ผุ้นำชุมชน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่ วางแผนการดำเนินงานเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา ๒.๓.๑.๒ จัดทำแนวทางการดำเนินงานโครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ (ต่อเนื่อง)     ๒.๓.๒ ขั้นดำเนินการ       ๒.๓.๒.๑ เชิญผู้ดูแลผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ     ๒.๓.๒.๒ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ ๒.๓.๒.๔ กิจกรรมการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องการดูแลผู้สูงอายุในการดูแลฟัน การรับประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและเกิดภาวะพึ่งพิง การออกกำลังกาย การนวดผ่อนคลายความเครียด การทำกายภาพบำบัดในผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และการทำกายภาพบำบัดแก่ผู้ป่วยที่มีภาวะข้อติด รวมไปถึงผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤตอัมพาต เมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ศาลาอเนกประสงค์วัดประดิษฐ์บุปผาตำบลสุไหงปาดี  อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๖๕ คน ๒.๓.๒.๕ สรุปผลการดำเนินงาน ประเมินผลโครงการ เพื่อวิเคราะห์หาส่วนที่ขาดในการดำเนินโครงการต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีในการที่จะดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยในครอบครัวได้
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้ด้วยตนเอง ๙๕%
20.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากผู้ดูแลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มที่ ๒ และ ๓ ได้รับการดูแลจากผู้ดูแลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๙๕%
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 65 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีในการที่จะดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยในครอบครัวได้ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลจากผู้ดูแลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี คนใกล้ชิดสุขใจ ปี ๒๕๖๒ (ต่อเนื่อง) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2543-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวขวัญฤทัย เอนกรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด