กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ปะเสยะวอ
วันที่อนุมัติ 7 ธันวาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลเล๊าะ เจ๊ะอาลี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.733,101.606place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขเมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๔๖ พบว่า อัตราการตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านมพบมากในช่วงอายุระหว่าง ๔๕-๕๐ ปี มะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจวินิจฉัย และให้การรักษาได้ ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยการตรวจค้นหาความผิดปกติของปากมดลูก และมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงในสตรีไทย และมักจะพบในระยะที่เป็นมากแล้วทำให้โอกาสมีชีวิตรอดน้อยลง

จากการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ - 2557 สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี จำนวน 11,286 คน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear 6,094 คน (ร้อยละ 54.00) และ ปีงบประมาณ 2558 กลุ่มเป้าหมาย 11,075 คน จำนวน 655 คน ร้อยละ 5.91 พบว่ากลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักถึงอันตรายของโรค และยังมีความอายในการมาตรวจความเร่งด่วน/ผลที่คาดหวัง: ร้อยละ ๒๐ ของหญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่่อค้นหาวิธีหรือรูปแบบใหม่ๆในการจูงใจให้สตรีกลุ่มเป้าหมายตามกลุ่มอายุ ถึง 60 ปี ในพื้นที่

ร้อยละ20 ของหญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear

2 เพื่อตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพื่อเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ร้อยละ20 ของหญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear

3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจและแรงจูงใจให้แก่ อสม.ที่นำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ร้อยละ20 ของหญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

4.1 สำรวจสตรีกลุ่มเป้าหมาย

4.2 จัดรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยจัดฐานความรู้ 4 ฐาน ประกอบด้วย

4.2.1 ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม

4.2.2 โมเดลเครื่องมือการตรวจมะเร็งปากมดลูก และโมเดลการสอนมะเร็งเต้านม

4.2.3 ให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear

4.2.4 นิทรรศการ

กลุ่มเป้าหมาย หญิงอายุ 30-60 ปี จำนวน 150 คน

แนวทางการดำเนินงาน จัดรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมด้วยตนเองเชิงรุก

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ ร้อยละ ๒๐ ของหญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear 2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2560 10:57 น.