กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน ดังนี้ กิจกรรม (ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหตุ กิจกรรมที่ 1 -ตรวจคัดกรองโรคความดัน โลหิตสูง  และ โรคเบาหวาน แก่ ประชาชนอายุ35 ปีขึ้นไป โดย การมีส่วนร่วมของ รพ.สต.บาเจาะ และ อสม. และภาค ประชาชน -จำแนก และจัดทาทะเบียน ประชาชนที่ได้รับการตรวจ โดย แยกกลุ่มดี/เสี่ยง/ป่วย
1.  ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความดัน เบาหวาน 2. มีการจาแนกประชาชนกลุ่ม ดี/เสี่ยง/ป่วย ด้วยโรคความดัน โลหิตสูงและเบาหวาน -ได้รับความร่วมมือใน การเข้ารับการคัดกรอง โรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง จาก ประชากรเป้าหมายเป็น อย่างด และทุกภาคส่วนให้ การสนับสนุนและช่วยกัน รณรงค์ให้มีการมารับ บริการตรวจสุขภาพในทุก พื้นที่ -เกิดความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ องค์กรชุมชน และประชาชน ในการเฝ้าระวัง และป้องกันโรคที่อาจส่งผลต่อ ภาวะสุขภาพของประชาชน ใน พื้นที่ตำบลบาเจาะ - ได้มีการจำแนกกลุ่ม ประชาชนหลังจากการคัด กรอง ดังนี้ โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มดี จำนวน 1,930 คน กลุ่มเสี่ยง จำนวน  487 คน กลุ่มป่วย จำนวน  7  คน โรคเบาหวาน กลุ่มดี จำนวน  2,195 คน กลุ่มเสี่ยง จำนวน 226 คน กลุ่มป่วย จำนวน    3  คน กิจกรรม (ตามแผน) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ตามแผน) ผลการดาเนินงาน หมายเหต กิจกรรมที่ 2 - ส่งต่อประชาชนกลุ่มป่วย เพื่อ รับการตรวจยืนยัน และรับการ รักษาไปยัง รพ.สต. และ รพช. -กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการอบบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2 ส
2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ละทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง 3 อ 2 ส 3. กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงการพัฒนาตนเอง ในการดูแลสุขภาพและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ครอบครัวและประชาชนทั่วไป

-ได้มีการจัดทำทะเบียน แยกกลุ่มเป้าหมาย และให้ การดูแลรักษากลุ่มผู้ป่วยที่ ต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง -กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อ รพ บันนังสตา เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องและต่อเนื่อง -กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบบรมให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใส่ใจ 3อ 2ส -ได้ค้นหาผู้ป่วยต้นแบบที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงจำนวน 10 คน และผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้จำนวน 5 คน
ปัญหา อุปสรรค -การคัดกรองไม่สามารถคัดกรองได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากประชาชนบางส่วนไม่ได้อาศัย อยู่ในพื้นที่อย่างถาวร อาจด้วยทำงานนอกพื้นที่ หรือ กำลังศึกษาอยู่ที่ต่างๆ และอื่นๆ -กลุ่มป่วยไม่สามารถควบคุมโรคได้ เนื่องจากความลำบากในการมารับยา บางรายก็ขอรักษาด้วยหมอบ้าน
ทำให้เกิดภาวะความดันและน้ำตาลสูง บางรายมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ โครงการตรวจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และดูแลผู้ป่วยส่งกลับห่างไกลภาวะแทรกซ้อนทำให้ กลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคความดันเบาหวาน ส่วนกลุ่มป่วยทำให้มีความตระหนักที่จะดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น  บรรลุตามวัตถุประสุงค์  ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เพราะ.................................................................................................................. 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมในแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม  30  คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ .    34,250    บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง                        34,250    บาท    คิดเป็นร้อยละ  100 งบประมาณเหลือส่งกองทุนฯ               0    บาท    คิดเป็นร้อยละ  100 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  มี ปัญหา/อุปสรรค(ระบุ)  1.) การประชาสัมพันธ์โครงการไม่ทั่วถึงในพื้นที่
                            2.) หญิงตั้งครรภ์มารับฟังการอบรมไม่ได้ตามเป้าหมาย แนวทางการแก้ไข(ระบุ)............................................................................................................................... .................................................................................................................................................................

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.

 

3 เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2960
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2,960
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาภตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูแลรักษาและได้รับการส่งต่อตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (4) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันดลหิตสูงและเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh