กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ


“ โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค ”

ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณนา บูแมนิแล

ชื่อโครงการ โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2536-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2536-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหามูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มที่ปริมาณมูลฝอยเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องมาจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และพฤติกรรมการอุปโภคของประชาชน หากไม่เร่งบริหารจัดการขยะมูลฝอยให้เป็นระบบตั้งแต่ต้นทาง กลางทางและปลายทางอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ อาจทำให้ปริมาณมูลฝอยตกค้างสะสมเพิ่มขึ้นในพื้นที่ และหากปล่อยทิ้งให้เกิดการสะสมเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม และส่งผลกระทบมากมายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน เช่น โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคจากสัตว์แมลง โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศรีษะ คลื่นไส้และอาเจียน เกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่างๆ ภายในร่างกาย       ดังนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่ เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะ เพื่อการป้องกันโรคโดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชนภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้ ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. 2552 มาตรา 67 ภายใต้บังคับแห่งกฏหมายองคการบริหารสวนตําบล มีหน้าที่ (2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ องค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะ จึงมีความจำเป็นในการจัดโครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรคประจำปี 2562 ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่ เพื่อเป็นการเสริมสร้างแนวคิดในการบริหารจัดการขยะ การเสริมสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการขยะ การผลักดัน กระตุ้นให้ผู้นําชุมชน ประชาชน เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันในการบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเอง และสามารถเป็นต้นแบบด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมให้แก่ชุมชนอื่นๆ และพื้นที่ใกล้เคียงอย่างแท้จริง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเสริมสร้างแนวคิด ในการบริหารจัดการขยะ
  2. เพื่อเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการดําเนินงาน ด้านการบริหารจัดการขยะ
  3. เพื่อเป็นการผลักดัน กระตุ้น ให้ผู้นําชุมชน ประชาชน เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันใน การบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ฝึกอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการขยะ
  2. กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายเกิดแนวคิด และมีความรู้เกี่ยวกับประเภทของขยะ
  2. กลุ่มเป้าหมายเกิดการมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่ายการดำเนินงานการจัดการขยะ
  3. กลุ่มเป้าหมายเกิดจิตสำนึก และเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการขยะ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ , การคัดแยกขยะ , การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
และการป้องกันและการดูแลสุขภาพที่เกิดจากขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. กลุ่มเป้าหมายเกิดแนวคิด และมีความรู้เกี่ยวกับประเภทของขยะ ๒. กลุ่มเป้าหมายเกิดการมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่ายการดำเนินงานการจัดการขยะ

 

300 0

2. กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะ

วันที่ 16 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์การคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเกิดจิตสำนึก และเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. กลุ่มเป้าหมายเกิดแนวคิด และมีความรู้เกี่ยวกับประเภทของขยะ ๒. กลุ่มเป้าหมายเกิดการมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่ายการดำเนินงานการจัดการขยะ ๓. กลุ่มเป้าหมายเกิดจิตสำนึก และเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการเสริมสร้างแนวคิด ในการบริหารจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเกิดแนวคิด และมีความรู้เกี่ยวกับประเภทของขยะ
0.00

 

2 เพื่อเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการดําเนินงาน ด้านการบริหารจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเกิดการมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่ายการดำเนินงานการจัดการขยะ
0.00

 

3 เพื่อเป็นการผลักดัน กระตุ้น ให้ผู้นําชุมชน ประชาชน เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันใน การบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเกิดจิตสำนึก และเรียนรู้ร่วมกันในการจัดการขยะได้ด้วยตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเสริมสร้างแนวคิด ในการบริหารจัดการขยะ (2) เพื่อเป็นการเสริมสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการดําเนินงาน ด้านการบริหารจัดการขยะ (3) เพื่อเป็นการผลักดัน กระตุ้น ให้ผู้นําชุมชน ประชาชน เด็กและเยาวชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันใน การบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ฝึกอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการขยะ (2) กิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบลสะอาด ประชาชนปลอดโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2536-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณนา บูแมนิแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด