กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตร ประกันฯ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1521-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1521-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,898.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อีก ๑๐ ปีข้างหน้าประเทศไทยจะเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" โดยสมบูรณ์ (ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข) คือจะมีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่า ๑๐ คนในคนไทย ๑๐๐ คน และจะมีผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านบุคลากรและระบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ การปรับปรุงฐานข้อมูลเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้ทันสมัยเพื่อที่จะได้ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด การสร้างหลักประกันและให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาสุขภาพทั้งในเรื่องของการเจ็บป่วย และปัญหาโรคประจำตัวเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและโรคมะเร็ง ซึ่งโรคดังกล่าว นอกจากจะมีปัจจัยจากพันธุกรรมแล้ว ยังมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมมาเกี่ยวข้องในเรื่องของการออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การดูแลสุขภาพจิตก็ยังเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เกิดปัญหาสุขภาพซึ่งการส่งเสริมสุขภาพ หรือการดูแลสุขภาพ ในเรื่อง ของ ๓ อ.คืออาหารออกกำลังกาย อารมณ์ สามารถที่จะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงป้องกันโรคต่างๆได้รวมทั้ง ควบคุมความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรคประจำตัวได้ โดยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสุขภาพสัปดาห์ละ ๓ วันๆ ละ อย่างน้อย ๓๐ นาที การรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเช่นลดอาหารหวานเค็มมัน เน้นรับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น รวมทั้งการดูแลสุขภาพจิตโดยเน้นกิจกรรมทางศาสนา เป็นตัวช่วยซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส มีผู้สูงอายุจำนวน ๑๖๖ คน มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๕ คน โรคเบาหวาน จำนวน ๒๘ คนเป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๑๕ คน      โรคอัมพฤกษ์ ๔ คน มะเร็ง ๑ คน หัวใจ ๑ คน และติดบ้าน ๖ คน โดยมีแกนนำอสม ที่ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน ๓๐ คน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเส ได้จัดทำโครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต บ้านกะลาเส ขึ้น โดยให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งในด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ ตลอดถึงการปฏิบัติตัว สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว โดยให้บรรลุแนวทางการปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข คือไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ ๓ วัน ๆ ละ ๓๐ นาที
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการดูแลสุขภาพจิตโดยการนั่งสมาธิและปฏิบัติธรรมสม่ำเสมอ
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับศักยภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การบรรยายธรรมะให้กับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่อง ๒. ผู้สูงอายุมีความรู้และมีพฤติกรรมในการดูและสุขภาพแบบองค์รวม(การออกกำลังกาย อารมณ์ การบริโภคอาหาร) ๓. พัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้สูงอายุในวิธีการ โรงเรียนผู้สูงอายุ รพ.สต บ้านกะลาเส ๔.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับศักยภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ ๓ วัน ๆ ละ ๓๐ นาที
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่อง
120.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (การออกกำลังกาย อารมณ์ การบริโภคอาหาร)
120.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการดูแลสุขภาพจิตโดยการนั่งสมาธิและปฏิบัติธรรมสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : พัฒนาองค์ความรู้ให้แก่ผู้สูงอายุในวิธีโรงเรียนผู้สูงอายุรพ.สต.บ้านกะลาเส
120.00

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับศักยภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตนให้เหมาะกับศักยภาพ
120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ ๓ วัน ๆ ละ ๓๐ นาที (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการดูแลสุขภาพจิตโดยการนั่งสมาธิและปฏิบัติธรรมสม่ำเสมอ (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับศักยภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบรรยายธรรมะให้กับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม รพ.สต.บ้านกะลาเส จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1521-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตร ประกันฯ สอ.บ.กะลาเส โดย นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด