โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายดล เพ็งไทร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-60-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-60-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่แนวนโยบายของรัฐบาล ได้กำหนดแนวนโยบาย มาตรการ กลไก ส่งเสริม สนับสนุน ภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการตามนโยบาย และมาตรการที่กำหนด เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ มีคุณภาพที่ดี การให้การสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสฯ จึงถือเป็นอีกภารกิจหน้าที่หนึ่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรวมถึงหน้าที่ที่จะต้องให้การสงเคราะห์และสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาสฯ ในด้านสุขภาพ การรักษาพยาบาล ด้านรายได้ การดำรงชีพ ด้านกิจกรรมนันทนาการ ด้านความมั่นคงทางสังคม ครอบครัว ตลอดจนการให้ความคุ้มครองและการบริการทางสังคม ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ จึงถือว่าเป็นบุคคลที่มีบทบาทที่สำคัญทางสังคม
การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุนภาพชีวิตคนพิการอย่างยั่งยืนโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากความพิการส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้คนพิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล
ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการตำบลแป-ระและชมรมคนพิการตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการดูแลและฟี้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาระบบฟื้นฟูบริการทางการแพทย์ให้คนพิการเข้าถึงบริการของรัฐอย่างทั่วถึง โดยเน้นการส่งเสริมกิจกรรมคนพิการให้ดูแลช่วยเหลือกันเอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมระบบการฟื้นฟูสุขภาพของคนพิการของผู้ดูแลให้มีการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมให้มีความรู้ในสิทธิตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 ครอบคลุมทั้งคนพิการรายเดิมที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและคนพิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
- เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม
- เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ครอบครัวคนพิการมีขวัญและกำลังใจ และได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างถูกต้อง
2 คนพิการรูคุณค่าของตนเองและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคม
3 ชมรมคนพิการตำบลแป-ระ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครดูแลคนพิการ มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเข้าค่ายอบรมให้ความรู้
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างยั่งยืน ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปีที่ ๓ ซึ่งได้
ดำเนินการในวันที่ ๒๖-๒๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ รีสอร์ทชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล โดยมีกิจกรรม ดังนี้
-กิจกรรมสันทนาการ สร้างความรักความสามัคคี ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะจิตใจที่ดี ได้ผ่อนคลายจากสภาพปัญหาในครอบครัว ตลอดจนผู้เข้าร่วมโครงการได้มีเครือข่ายในกลุ่มของคนพิการด้วยกัน เกิดความรักสามัคคี ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน
-กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิคนพิการ และการเข้าถึงบริการภาครัฐ โดยวิทยากรที่มีความรู้จากภาครัฐโดยตรง ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และแก้ไขปัญหาตลอดจนข้อสงสัยได้กระจ่างแจ้ง คือ นางไลลา รอเกตุ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการศูนย์บริการคนพิการจังหวัดสตูล
-กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลท่าแพ คือ นายณรงค์เวทย์ แซ่ห้าว และนางสาวรีน่า ว่านายรัก นักกายภาพบำบัด ได้มาให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการที่บ้านด้วยตนเอง และได้สร้างกระบวนการฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้ป่วยและผู้ดูแลไม่ให้เกิดความเครียดและภาวะซึมเศร้า
-กิจกรรมจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตำบลแป-ระ ชมรมคนพิการได้มีการจัดทำและปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเป็นประจำทุกปี เพื่อเข้าถึงสภาพปัญหาและความต้องการของคนพิการและครอบครัวคนพิการ เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนารวมทั้งการแก้ไขปัญหาของคนพิการเอง และเพื่อนำเสนอปัญหาและความต้องการไปยังหน่วยงานภาครัฐต่างๆ
80
80
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพีงพอใจ
2
เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของคนพิการมีกิจกรรมร่วมกัน
3
เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ
ตัวชี้วัด : 1) มีระเบียบชมรมคนพิการ
2) มีการจ่ายสวัสดิการให้แก่สมาชิก
3) มีการประชุมคณะกรรมการชมรมฯ เดือนละ 1 ครั้ง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
45
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
35
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (2) เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-60-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดล เพ็งไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายดล เพ็งไทร
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-60-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-60-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่แนวนโยบายของรัฐบาล ได้กำหนดแนวนโยบาย มาตรการ กลไก ส่งเสริม สนับสนุน ภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการตามนโยบาย และมาตรการที่กำหนด เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ มีคุณภาพที่ดี การให้การสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสฯ จึงถือเป็นอีกภารกิจหน้าที่หนึ่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรวมถึงหน้าที่ที่จะต้องให้การสงเคราะห์และสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาสฯ ในด้านสุขภาพ การรักษาพยาบาล ด้านรายได้ การดำรงชีพ ด้านกิจกรรมนันทนาการ ด้านความมั่นคงทางสังคม ครอบครัว ตลอดจนการให้ความคุ้มครองและการบริการทางสังคม ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ จึงถือว่าเป็นบุคคลที่มีบทบาทที่สำคัญทางสังคม การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุนภาพชีวิตคนพิการอย่างยั่งยืนโดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากความพิการส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้คนพิการไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมคนปกติ ไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางการแพทย์ ทำให้ขาดการดูแลรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการตำบลแป-ระและชมรมคนพิการตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการดูแลและฟี้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาระบบฟื้นฟูบริการทางการแพทย์ให้คนพิการเข้าถึงบริการของรัฐอย่างทั่วถึง โดยเน้นการส่งเสริมกิจกรรมคนพิการให้ดูแลช่วยเหลือกันเอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมระบบการฟื้นฟูสุขภาพของคนพิการของผู้ดูแลให้มีการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมให้มีความรู้ในสิทธิตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 ครอบคลุมทั้งคนพิการรายเดิมที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและคนพิการที่ยังไม่เคยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
- เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม
- เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 45 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 35 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ครอบครัวคนพิการมีขวัญและกำลังใจ และได้รับการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างถูกต้อง 2 คนพิการรูคุณค่าของตนเองและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคม 3 ชมรมคนพิการตำบลแป-ระ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครดูแลคนพิการ มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเข้าค่ายอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอย่างยั่งยืน ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปีที่ ๓ ซึ่งได้
ดำเนินการในวันที่ ๒๖-๒๗ เมษายน ๒๕๖๐ ณ รีสอร์ทชุมชนบ้านบ่อเจ็ดลูก ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล โดยมีกิจกรรม ดังนี้
|
80 | 80 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพีงพอใจ |
|
|||
2 | เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของคนพิการมีกิจกรรมร่วมกัน |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ ตัวชี้วัด : 1) มีระเบียบชมรมคนพิการ 2) มีการจ่ายสวัสดิการให้แก่สมาชิก 3) มีการประชุมคณะกรรมการชมรมฯ เดือนละ 1 ครั้ง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 45 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 35 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนการพัฒนาและฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (2) เพื่อสร้างคุณค่าให้คนพิการและการอยู่ร่วมกันในสังคม (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพชมรมคนพิการ ผู้ดูแลคนพิการและเครือข่ายอาสาสมัครผูดูแลคนพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลและฟี้นฟูสมถภาพคนพิการอย่างยั่ยยืน (ปีที่ 3) พ.ศ.2560 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-60-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดล เพ็งไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......