โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-50117-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-50117-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบ บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคลต้องมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคญคือ สิ่แวดล้อม ต้องถูกลักษณะ จึงจำทำให้เป็แหล่งเพาะพันธ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสิ่งแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแตละบุคคลแต่ละหลังคาเรือนซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดที่พักอาศัยให้ได้มาตราฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคต่าง ๆ ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ มีสุขภา่พที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจกทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน โรงพยาบาลนาโยง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาสะอาดและร่วมมือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกหลักสุขาภิบาลที่พักอาศัยและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าบ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้ว โรคติดต่อต่าง ๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมาก ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส
- -เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน
- -เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมระบาดของโรคได้ ภายในกำหนดเวลา
2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกหลักอนามัย
3.เกิดเครือข่ายดำเนินการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงเรียน ได้รับเข้ารับการอบรมเรื่องควบคุมป้งอกันโรคไข้เลือดออก 100 เปอร์เซ็น จัดกิจกรมรณรงค์ป้งอกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ม.1,3,4,5,6,7 จำนวน 2 ครั้ง พร้อมแจกเอกสารแผ่นพับและทรายกำจัดลูกน้ำ จำนวน 1,608 หลังคาเรือนดำเนินการพ่นเคมีภัณฑ์ เรียบร้อยแล้ว
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
-เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
2
-เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
3
-เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
200
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส (2) -เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน (3) -เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-50117-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-50117-1-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-50117-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคติดต่อ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบ บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคลต้องมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคญคือ สิ่แวดล้อม ต้องถูกลักษณะ จึงจำทำให้เป็แหล่งเพาะพันธ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสิ่งแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแตละบุคคลแต่ละหลังคาเรือนซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดที่พักอาศัยให้ได้มาตราฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคต่าง ๆ ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ มีสุขภา่พที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจกทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน โรงพยาบาลนาโยง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาสะอาดและร่วมมือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกหลักสุขาภิบาลที่พักอาศัยและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าบ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้ว โรคติดต่อต่าง ๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมาก ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- -เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส
- -เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน
- -เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมระบาดของโรคได้ ภายในกำหนดเวลา 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกหลักอนามัย 3.เกิดเครือข่ายดำเนินการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โรงเรียน ได้รับเข้ารับการอบรมเรื่องควบคุมป้งอกันโรคไข้เลือดออก 100 เปอร์เซ็น จัดกิจกรมรณรงค์ป้งอกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ม.1,3,4,5,6,7 จำนวน 2 ครั้ง พร้อมแจกเอกสารแผ่นพับและทรายกำจัดลูกน้ำ จำนวน 1,608 หลังคาเรือนดำเนินการพ่นเคมีภัณฑ์ เรียบร้อยแล้ว
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | -เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
|
2 | -เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
|
3 | -เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | 200 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความตระหนัก ในเรื่องโรคไข้เลือดออกและโรคเลปโตสไปโรซีส (2) -เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่าง ๆในชุมชน (3) -เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก/โรคเลปโตสไปโรซีส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อ (ไข้เลือดออก/เลปโตสไปโรซีส) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-50117-1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......