กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.ต.กะลาเส โดย นางเพ็ญศรี บัวขำ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1521-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1521-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,235.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ ให้การยกย่องนับถือเนื่องจากเป็นกลุ่มบุคคลที่เคยเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ เมื่อครั้งยังอยู่ในวัยทำงานสำหรับประเทศไทยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลุ่มผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สังคมจำเป็นต้องเตรียมการและให้การช่วยเหลือเกื้อกูลให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญของการมีสุขภาพที่ดี ก็คือเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีของผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุเกิดโรคฟันผุและรอยโรคในช่องปากที่เป็นอันตรายกับช่องปากของตนเอง จากการพบว่า ผู้อายุมีการสูญเสียฟันจำนวนมาก ซึ่งส่งผลให้เกิดการลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ทำให้ต้องเลือกกินอาหารที่เคี้ยวง่ายซึ่งมีไขมันสูงคอเลสเตอรอลสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยซึ่งร่างกายจำเป็นต้องได้รับการสูญเสียฟันทั้งปากเป็นปัจจัยเสี่ยงของการมีน้ำหนักลดลงและมีปัญหาในการสื่อสารหรือร่วมกิจกรรมในสังคม การมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกันระหว่างโรคเรื้อรังกับโรคในช่องปาก เช่น โรคปริทันต์กับเบาหวานโรคหัวใจ โรคทางระบบทางเดินหายใจและสุขภาพจิต เป็นต้น สำหรับสุขภาพช่องปาก จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุขจิตใจก็ไม่สบายร่างกายก็ไม่แข็งแรง” ทำให้เห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ชัดเจน
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพครั้งล่าสุดในปี ๒๕๖๐ พบว่าผู้ที่มีอายุ ๖๐ - ๗๔ ปี สูญเสียฟันที่ใช้งานทั้งปากและ มีฟันแท้ใช้งาน ๒๐ ซี่ มีฟันหลัง ๔ คู่สบ ร้อยละ ๓๙.๔ มีสภาวะปริทันต์ ร้อยละ ๓๖.๓ นอกจากนี้ยังมีการสูญเสียฟันบางส่วนเกือบทุกคน ส่งผลให้เกิดความต้องการฟันเทียมทั้งปากเพื่อการเคี้ยวอาหารเพิ่มขึ้น อีกทั้งโรคในช่องปากที่นำไปสู่การสูญเสียฟันในกลุ่มผู้สูงอายุทั้งโรคฟันผุ โรคปริทันต์และรากฟันผุเป็นโรคเรื้อรังที่สะสมมาก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุความชุกและความรุนแรงจะเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป       ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเสได้จัดทำโครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟัน ให้กลุ่มผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสมเพิ่มขึ้นชมรมผู้สูงอายุที่อยู่ในเขตรับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดี เพื่อเป็นการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้ ซึ่งในระยะยาวจะลดการสูญเสียฟัน ลดความต้องการฟันเทียมเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี ยิ้มสวย ไร้โรคช่องปาก
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการเกิดรอยโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่าง ถูกวิธี
  3. เพื่อลดการเกิดโรคต่างๆที่จะเกิดขึ้นในช่องปากของผู้สูงอายุหลังจากตรวจสุขภาพช่องปากเพื่อค้นหาการเกิดโรคต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพช่องปาก อบรมให้ความรู้ สาทิตวิธีการแปลงฟันที่ถูกต้องให้กับผู้สูงอายุ ทำแบบทดสอบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ 477
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าอบรมนำองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากและการใส่ฟันปลอมได้
    ๒. ผู้สูงอายุมีฟันผุ เหงือกอักเสบและโรคในช่องปากลดลง ( รอยโรคที่เกิดจากผิดปกติของในช่องปากที่กับอวัยวะอื่นๆ เช่น เนื้อเยื่ออ่อน กระพุ้งแก้ม และลิ้น)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี ยิ้มสวย ไร้โรคช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี ไร้โรคฟันผุและรอยโรคในช่องปาก
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการเกิดรอยโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่าง ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
90.00

 

3 เพื่อลดการเกิดโรคต่างๆที่จะเกิดขึ้นในช่องปากของผู้สูงอายุหลังจากตรวจสุขภาพช่องปากเพื่อค้นหาการเกิดโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ รอยโรคในช่องปากของผู้สูงอายุลดลง
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 504
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 27
กลุ่มผู้สูงอายุ 477
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี ยิ้มสวย ไร้โรคช่องปาก (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการเกิดรอยโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากอย่าง ถูกวิธี (3) เพื่อลดการเกิดโรคต่างๆที่จะเกิดขึ้นในช่องปากของผู้สูงอายุหลังจากตรวจสุขภาพช่องปากเพื่อค้นหาการเกิดโรคต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพช่องปาก อบรมให้ความรู้ สาทิตวิธีการแปลงฟันที่ถูกต้องให้กับผู้สูงอายุ ทำแบบทดสอบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงวัย รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1521-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เงินบำรุงกองทุนหมุนเวียนบัตรประกันสุขกาพ สอ.ต.กะลาเส โดย นางเพ็ญศรี บัวขำ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด