กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”

ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุชฎา เพชรขาว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-50117-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-50117-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีสุขเป็นเรื่องสำคัญ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นกอรปกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวครอบครัวขยาย ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อสอดคล้องกับสังคมปัจจุบันทั้งด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยม ต่าง ๆซึ่งก่อให้เกิดผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้อง แยกตัวออกจากสังคมขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกครอบครัว ท้องแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มขึ้น ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผุ้สูงอายุ หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใส่ใจจากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะทำให้ผู้สูงอายุว้าเว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้มีคุณค่าในตนเองลดลง เป็นผลให้เกิดคงามผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและเป้นอันตรายต่อชีวิตได้ จากการสำรวจผู้สูงอายุในตำบลนาโยงเหนือ ปี 2562 มีผู้สูงอายุ จำนวน 938 คน เป็นผู้สูงอายุที่ส่วนใหญ่มีปัญหาด้าน สุขภาพกาย เช่น เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ อุบัติเหตุ โรคข้อเสื่อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะซึมเศร้า ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ คือขาดสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม พอควร ดั้งนั้น ชมรมผุ้สูงอายุได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญ ของการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นทีรวมตัวกันทำกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การดูแลตนเอง การออกกำลังกาย ส่งเสริมอาชีพ ถ่ายทอดภูมิปัญญา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เป็นต้น อันเป็นการพัฒนาสุขภาพของผู้สูงอายุที่ ครบทั้ง 4 มิติ คือ กาย ใจ สังคม และปัญญา ทำให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามสมควร และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที
  2. เพื่อผุ้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
  3. เพื่อผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างการมีคุณค่าในตนเอง มีสุขภาพจิตที่ดี
  4. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  5. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  6. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  7. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุพร้อมตรวจคัดกรองสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพ ออกกำลังกาย และได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ส่งผลให้มีสุขภาพกาย และสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น อยุ่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคม อย่างมีความสุข 2.ผู้สูงอายุ มีความมั่นใจตนเอง กล้าแสดงออก รู้สึกมีคุณค่าต่อตนเองและสังคม 3.ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพ ออกกำลังกาย และได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองส่งผลให้มีการสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น อยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชน และสังคม อย่างมีความสุข
-การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน -ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับกาตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
150.00

 

2 เพื่อผุ้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ได้รับการถ่ายทอดคว่ามรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพตนเอง
150.00

 

3 เพื่อผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างการมีคุณค่าในตนเอง มีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
150.00

 

4 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
80.00

 

5 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
30.00

 

6 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)
12.00

 

7 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในพื้นที (2) เพื่อผุ้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสม สร้างการมีคุณค่าในตนเอง มีสุขภาพจิตที่ดี (4) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (5) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ  (6) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (7) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุพร้อมตรวจคัดกรองสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-50117-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุชฎา เพชรขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด