โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายร่อศล ตู้ดำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,322.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีปัจจัยหลายๆด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้ และความเข้าใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม ที่มีสาเหตุมาจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กิจกรรมการดําเนินงานหลายวิธี และใช้ระยะเวลาในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ร่วมกัน องค์การบริหารส่วนตำบลยะรังร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรังขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนทุกคนในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการบริหารสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ได้ และส่งเสริมให้กลุ่มที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น แม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงและผู้ป่วยเรื้อรังอย่างทั่วถึงและที่จำเป็นต่อสุขภาพในการดำรงชีวิต จึงต้องมีระบบการจัดทําข้อมูล มีการจัดทํากิจกรรมต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกําหนดทิศทางในการดําเนินงานสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง และตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕61 ลงวันที่ ๑3 กันยายน ๒๕61 การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจะต้องมีคณะกรรมการชุดหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการบริหารหลักประกันสุขภาพ โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการมาจากหลากหลายภาคส่วนตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ จะต้องมีกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ภายใต้การกำกับดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ประกอบกับการประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศจะช่วยในการขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรม ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบถึงข้อมูล ข่าวสารการบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ
- เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
- เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ครั้งที่ 1
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2
- ค่าอาหารว่างและเครื่อง คณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3
- ค่าเบี้ยค่าประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
- กิจกรรมย่อยอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมย่อยศึกษาดูงาน
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562
- ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3
- ค่าอาาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 3
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2562
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการ 3/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะทำงาน(คนนอก)
- ค่าอาหารว่างคณะทำงาน (คนนอก)
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562
- ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุกรรม ครั้งที่ 4/2562
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
36
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๗.๑ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
๗.๒ การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : 1. พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการหรือกิจกรรมตามที่หน่วยงานต่างๆจัดทำกิจกรรม
0.00
2
เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ดำเนินการตามระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ
0.00
3
เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
0.00
4
เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : กำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการตามที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
0.00
5
เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : พิจารณาเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
36
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
36
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ (3) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (5) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (2) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ครั้งที่ 1 (4) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (6) ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (7) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2 (8) ค่าอาหารว่างและเครื่อง คณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3 (9) ค่าเบี้ยค่าประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (11) กิจกรรมย่อยอบรมให้ความรู้ (12) กิจกรรมย่อยศึกษาดูงาน (13) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 (14) ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 (15) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3 (16) ค่าอาาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 3 (17) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2562 (18) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการ 3/2562 (19) ค่าเบี้ยประชุมคณะทำงาน(คนนอก) (20) ค่าอาหารว่างคณะทำงาน (คนนอก) (21) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562 (22) ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562 (23) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562 (24) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุกรรม ครั้งที่ 4/2562
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายร่อศล ตู้ดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ”
ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายร่อศล ตู้ดำ
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,322.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีปัจจัยหลายๆด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้ และความเข้าใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม ที่มีสาเหตุมาจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กิจกรรมการดําเนินงานหลายวิธี และใช้ระยะเวลาในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ร่วมกัน องค์การบริหารส่วนตำบลยะรังร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรังขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนทุกคนในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการการมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการบริหารสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ได้ และส่งเสริมให้กลุ่มที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น แม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงและผู้ป่วยเรื้อรังอย่างทั่วถึงและที่จำเป็นต่อสุขภาพในการดำรงชีวิต จึงต้องมีระบบการจัดทําข้อมูล มีการจัดทํากิจกรรมต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกําหนดทิศทางในการดําเนินงานสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง และตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕61 ลงวันที่ ๑3 กันยายน ๒๕61 การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจะต้องมีคณะกรรมการชุดหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการบริหารหลักประกันสุขภาพ โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการมาจากหลากหลายภาคส่วนตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ จะต้องมีกรรมการและคณะอนุกรรมการ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ภายใต้การกำกับดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ประกอบกับการประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศจะช่วยในการขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรม ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบถึงข้อมูล ข่าวสารการบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ
- เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
- เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ครั้งที่ 1
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2
- ค่าอาหารว่างและเครื่อง คณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3
- ค่าเบี้ยค่าประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
- กิจกรรมย่อยอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมย่อยศึกษาดูงาน
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562
- ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3
- ค่าอาาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 3
- ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2562
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการ 3/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะทำงาน(คนนอก)
- ค่าอาหารว่างคณะทำงาน (คนนอก)
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562
- ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562
- ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุกรรม ครั้งที่ 4/2562
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 36 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๗.๑ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ๗.๒ การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ตัวชี้วัด : 1. พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการหรือกิจกรรมตามที่หน่วยงานต่างๆจัดทำกิจกรรม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ ตัวชี้วัด : ดำเนินการตามระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ตัวชี้วัด : ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ตัวชี้วัด : กำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการตามที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : พิจารณาเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 36 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 36 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพภายในการบริหารกองทุนฯ (3) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงานหรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (5) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (2) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1 (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ครั้งที่ 1 (4) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (6) ค่าอาหารเที่ยงและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/62 (7) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่ 2 (8) ค่าอาหารว่างและเครื่อง คณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3 (9) ค่าเบี้ยค่าประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (11) กิจกรรมย่อยอบรมให้ความรู้ (12) กิจกรรมย่อยศึกษาดูงาน (13) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 (14) ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2562 (15) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3 (16) ค่าอาาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 3 (17) ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2562 (18) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการ 3/2562 (19) ค่าเบี้ยประชุมคณะทำงาน(คนนอก) (20) ค่าอาหารว่างคณะทำงาน (คนนอก) (21) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562 (22) ึ่ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/2562 (23) ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562 (24) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุกรรม ครั้งที่ 4/2562
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-L3032-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายร่อศล ตู้ดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......