ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว ”
เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายพลพงษ์ เพชรบูรณ์, นางอุไวรรณ พุ่มพวง, นางสุนี แสงแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง
ตุลาคม 2562
ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8021-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8021-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,800.00 บาท จาก กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ถือว่ามีบทบาทหน้าที่สำคัญอย่างมากในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย ซึ่งประเทศไทยได้เริ่มนำงานสาธารณสุขมูลฐานมาใช้เป็นแนวทางพัฒนางานสาธารณสุขตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – พ.ศ. 2524) ซึ่งเป็นกลไกในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย และได้นำเอาระบบ อสม. มาใช้เพื่อให้ อสม. มีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน เป็นแกนนำที่สำคัญช่วยชักจูง และก่อให้เกิดความร่วมมือจากชุมชนในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของหมู่บ้าน (อมร นนทสุต, 2525 : 6) สำหรับบทบาทและหน้าที่ของ อสม. ประจำหมู่บ้าน คือ ให้คำแนะนำ เพิ่มความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชน คอยประสานงานรับข่าวสารทางด้านสุขภาพจากเจ้าหน้าที่ไปเผยแพร่ต่อประชาชน และแจ้งข่าวที่เกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาพในหมู่บ้านแก่ประชาชน ช่วยเหลือด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้นให้กับประชาชนในหมู่บ้าน เฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็นภารกิจการขับเคลื่อนการดำเนินงานสาธารณสุขในพื้นที่ที่สำคัญอย่างมาก
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลนาสีทอง เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุข ให้แก่ อสม. และแกนนำชุมชนต่างๆ ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย 4 กิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย, กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR), กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์, กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
- 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- 3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง)
- กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR)
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำชุมชน
- อสม. สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม และฝึกปฏิบัติ ดูแลประชาชนในพื้นที่ และปฏิบัติงานทางด้านสาธารณสุขได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องของสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง)
วันที่ 1 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเตรียมไวนิลประชาสัมพันธืให้ความรู้
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเอกสารสำหรับการอบรม
- ประสานผู้รับจ้างจัดทำอาหารว่างและเครื่องด่ื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้ที่เกี่ยวข้อง
- อสม.ลงพื้นที่ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการควบคุมป้องกัน สำรวจลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day ในชุมชน โดยดำเนินการเดือนละ 1 ครั้ง / 1 ชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการควบคุมป้องกัน และการสำรวจลูกน้ำยุงลาย
60
0
2. กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR)
วันที่ 5 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประสานวิทยากรเพืื่ออบรมให้ความรู้
- ประสานผู้เข้ารับการอบรม
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเอกสารสำหรับการอบรม
- จัดเตรียมไวนิลโครงการ
- ประสานผู้รับจ้างจัดทำอาหารว่างและเครื่องด่ื่ม อาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- ประสานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจัดเตรียมสถานที่ในการอบรม
- อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) แก่ อสม. ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) โดยสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชนได้ต่อไป
60
0
3. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน
วันที่ 10 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประสานวิทยากรเพืื่ออบรมให้ความรู้
- ประสานผู้เข้ารับการอบรม
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเอกสารสำหรับการอบรม
- จัดเตรียมไวนิลโครงการ และไวนิลประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
- ประสานผู้รับจ้างจัดทำอาหารว่างและเครื่องด่ื่ม สำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- ประสานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดเตรียมสถานที่ในการอบรม
- อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้แก่บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลในชุมชน
240
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ อสม. มีความรู้ เข้าใจบทบาทการเป็นผู้นำ สุขภาพในชุมชน
0.00
0.00
2
2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ อสม. นำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
0.00
3
3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้นำชุมชน และ อสค. ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องสุขภาพ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน (2) 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) 3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง) (2) กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) (3) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8021-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพลพงษ์ เพชรบูรณ์, นางอุไวรรณ พุ่มพวง, นางสุนี แสงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว ”
เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายพลพงษ์ เพชรบูรณ์, นางอุไวรรณ พุ่มพวง, นางสุนี แสงแก้ว
ตุลาคม 2562
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8021-02-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลนาสีทอง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8021-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,800.00 บาท จาก กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาสีทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ถือว่ามีบทบาทหน้าที่สำคัญอย่างมากในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย ซึ่งประเทศไทยได้เริ่มนำงานสาธารณสุขมูลฐานมาใช้เป็นแนวทางพัฒนางานสาธารณสุขตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – พ.ศ. 2524) ซึ่งเป็นกลไกในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย และได้นำเอาระบบ อสม. มาใช้เพื่อให้ อสม. มีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน เป็นแกนนำที่สำคัญช่วยชักจูง และก่อให้เกิดความร่วมมือจากชุมชนในการแก้ปัญหาสาธารณสุขของหมู่บ้าน (อมร นนทสุต, 2525 : 6) สำหรับบทบาทและหน้าที่ของ อสม. ประจำหมู่บ้าน คือ ให้คำแนะนำ เพิ่มความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชน คอยประสานงานรับข่าวสารทางด้านสุขภาพจากเจ้าหน้าที่ไปเผยแพร่ต่อประชาชน และแจ้งข่าวที่เกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาพในหมู่บ้านแก่ประชาชน ช่วยเหลือด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้นให้กับประชาชนในหมู่บ้าน เฝ้าระวังและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็นภารกิจการขับเคลื่อนการดำเนินงานสาธารณสุขในพื้นที่ที่สำคัญอย่างมาก
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลนาสีทอง เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุข ให้แก่ อสม. และแกนนำชุมชนต่างๆ ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย 4 กิจกรรมย่อย คือ กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย, กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR), กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์, กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
- 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- 3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง)
- กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR)
- กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. ได้รับความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำชุมชน
- อสม. สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรม และฝึกปฏิบัติ ดูแลประชาชนในพื้นที่ และปฏิบัติงานทางด้านสาธารณสุขได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องของสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง) |
||
วันที่ 1 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีการควบคุมป้องกัน และการสำรวจลูกน้ำยุงลาย
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) |
||
วันที่ 5 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัวได้รับความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) โดยสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชนได้ต่อไป
|
60 | 0 |
3. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน |
||
วันที่ 10 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้แก่บุคคลในครอบครัว หรือบุคคลในชุมชน
|
240 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ อสม. มีความรู้ เข้าใจบทบาทการเป็นผู้นำ สุขภาพในชุมชน |
0.00 | 0.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของ อสม. นำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
0.00 |
|
||
3 | 3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้นำชุมชน และ อสค. ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องสุขภาพ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา อสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน (2) 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาชีพสาธารณสุข ให้ อสม. สามารถนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) 3. สร้างความรู้ให้แก่ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครดูแลครอบครัว (อสค.) ในเรื่องความรู้ด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและวิธีการควบคุมป้องกันลูกน้ำยุงลาย และกิจกรรมออกสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และ Big Cleaning Day (เดือนละ 1 ครั้ง) (2) กิจกรรมการใช้ยาสามัญประจำบ้านอย่างปลอดภัย และกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) (3) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าและโรคติดต่อจากสัตว์ 4 ชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครดูแลครอบครัว จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L8021-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพลพงษ์ เพชรบูรณ์, นางอุไวรรณ พุ่มพวง, นางสุนี แสงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......