โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรครุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทายอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัด
จาการคัดกรองประชากรเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ประชากรในกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป พบว่าป่วยด้วยโรคความดันดลหิตสูง จำนวน ๔๑๘ ราย กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๔๒๐ ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวานจำนวน ๑๐๖ ราย กลุ่มเสี่ยงจำนวน ๑๘๗ราย ซึ่งในแต่ละปีเป็นอัตราที่สูงขึ้น
เพื่อทำให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยและญาติมีศักยภาพในหารดูแลตนเองมากขึ้น และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตัวให้ห่างจากโรคและภาวะแทรกซ้อนได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ เห็นความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้มีความตระหนักและความเข้าใจ เร่งสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชนขึ้น โดยได้จัดทำโครงการเสริมสร้างอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ในปี ๒๕๖๐ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง
- ๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ ทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
๒.กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
๓.กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง และการปฎิบัติตนเพื่อดูแลตัวเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยกลุ่มเป้าหมายเป็น 2 รุ่น ได้แก่ - รุ่นที่ 1 อบรมกลุ่มป่วยและผู้ดูแลกลุ่มป่วย จำนวน 60 คน ในวันที่ 2-3 พฤษภาคม 2560 - รุ่นที่ 2 อบรมกลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยง จำนวน 60 คน ในวันที่ 4-5 พฤษภาคม 2560 2. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 3. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 มีระดับความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในระดับดี
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 ครั้ง (ดูจากผลการวัดความดันโลหิตและค่าดัชนีมวลกาย) คือหลังจากอบรม 1 เดือน, 3 เดือน และ 6 เดือน รายละเอียดผลการติดตามดังในตารางที่ 2,3,4
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิตลดลงมาอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 58.3 และ ร้อยละ 43.3 9kg
พบว่า จากการดำเนินโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า ลดลง ร้อยละ 50, ร้อยละ 50 และ เท่าเดิม ตามลำด พบว่า จากการดำเนินโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 มีผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน ลดลง ร้อยละ 37.5 ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 43.75
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 ร้อยละ 85 มีระดับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเพื่อลดภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงหลังการอบรมในระดับดี
พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 ร้อยละ 100 มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
2
๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
3
๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) ๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรครุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องปัจจัยสำคัญที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังคือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทายอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัด
จาการคัดกรองประชากรเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ประชากรในกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป พบว่าป่วยด้วยโรคความดันดลหิตสูง จำนวน ๔๑๘ ราย กลุ่มเสี่ยง จำนวน ๔๒๐ ราย ป่วยด้วยโรคเบาหวานจำนวน ๑๐๖ ราย กลุ่มเสี่ยงจำนวน ๑๘๗ราย ซึ่งในแต่ละปีเป็นอัตราที่สูงขึ้น
เพื่อทำให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยและญาติมีศักยภาพในหารดูแลตนเองมากขึ้น และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติตัวให้ห่างจากโรคและภาวะแทรกซ้อนได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ เห็นความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้มีความตระหนักและความเข้าใจ เร่งสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชนขึ้น โดยได้จัดทำโครงการเสริมสร้างอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ในปี ๒๕๖๐ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง
- ๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- ๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ ทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
๒.กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
๓.กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง และการปฎิบัติตนเพื่อดูแลตัวเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยกลุ่มเป้าหมายเป็น 2 รุ่น ได้แก่ - รุ่นที่ 1 อบรมกลุ่มป่วยและผู้ดูแลกลุ่มป่วย จำนวน 60 คน ในวันที่ 2-3 พฤษภาคม 2560 - รุ่นที่ 2 อบรมกลุ่มเสี่ยงและผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยง จำนวน 60 คน ในวันที่ 4-5 พฤษภาคม 2560 2. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100 มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก 3. กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 มีระดับความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในระดับดี
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 ครั้ง (ดูจากผลการวัดความดันโลหิตและค่าดัชนีมวลกาย) คือหลังจากอบรม 1 เดือน, 3 เดือน และ 6 เดือน รายละเอียดผลการติดตามดังในตารางที่ 2,3,4 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยสามารถควบคุมความดันโลหิตลดลงมาอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 58.3 และ ร้อยละ 43.3 9kg พบว่า จากการดำเนินโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า ลดลง ร้อยละ 50, ร้อยละ 50 และ เท่าเดิม ตามลำด พบว่า จากการดำเนินโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 มีผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน ลดลง ร้อยละ 37.5 ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 43.75 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 ร้อยละ 85 มีระดับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเพื่อลดภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงหลังการอบรมในระดับดี พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปี 2560 ร้อยละ 100 มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับดีมาก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และญาติ ครอบครัวผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง จากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน ทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) ๓.เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมพลังอำนาจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ ปีงบประมาณ2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5275-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิชาภา ศรีสังข์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......