กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข ”
ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลทับช้าง (นายกิจนันทร์ เพ็ชรชุม,น.ส.สายใหม่ อุนทรีจันทร์,น.ส.สุพิชฌาย์ ทิมทอง,นางนันทพร พรมทอง,นายพชร ช่วยชู)




ชื่อโครงการ โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข

ที่อยู่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5198-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2560 ถึง 27 กรกฎาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับช้าง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5198-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2560 - 27 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,032.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทับช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสภาพปัญหาสังคมปัจจุบัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีความสลับซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของเราทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หากประสบกับปัญหาต่าง ๆ แล้วไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพของปัญหาได้ ก็จะทำให้จิตใจเสื่อมถอยลงเกิดความเครัยดมากขึ้น ส่งผลกระทบไปถึงชีวิตและการทำงาน ทำให้ไม่มีสมาธิในการทำงาน ทำงานบกพร่องและผิดพลาด ประสิทธิ์ภาพในการทำงานลดลงดังนัน้การจัดการกับความเครียดก็คือ การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต ทั้งชีวิตประจำวันและชีวิตการทำงาน เช่น อิทธิบาท 4 ธรรมะสำหรับผู้ปฏิบัติงาน สังคหวัตถุ 4 ธรรมะสำหรับการทำงานร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับ Happy 8 Workplace ความสมดุลของการใช้ชีวิตและการทำงาน 8 ประการ ตามแนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คือ 1. Happy Body (สุขภาพดี) มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ เพราะมีความเชื่อว่าถ้ามนุษย์ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงก็จะมีจิตใจที่ดี พร้อมที่จะรับที่กับปัญหาที่จะเข้ามาได้เป็นอย่างดี 2. Happy Relax (น้ำใจงาม) มีมีน้ำใจเอื้ออาทีต่อกันและกัน เนื่องจากมีความเชื่อว่าความสุขที่แท้จริงคือการเป็นผู้ให้ 3. Happy Society (สังคมดี) มีความรักสามัคคีเอื้อเฟื้อต่อชุมชนที่ตนทำงาน และพักอาศัย มีสังคมและสภาพแวดล้อมที่ดี เพราะเชื่อว่าการที่ผู้คนมีความเป็นอยู่ที่ดีภายในสังคมหรือชุมชน ย่อมเป็นพื้นฐานที่ดี ทำให้ผู้อยู่อาศัย มีความรัก ความปรองดอง สามัคคีต่อกัน พร้อมร่วมแรงใจช่วยกันพัฒนาชุมชนให้มีชีวิตการเป็นอยู่ที่ดีขี้น 4. Happy Relax (ผ่อนคลาย) รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่างๆ ในการดำเนินชีวิต เพราะเชื่อว่าการที่คนทำงานหากไม่รู้จักสรรหาการผ่อนคลายให้กับตนเอง จะทำให้ร่างกายและจิตใจเกิดความเครียด อันส่งผลกระทบต่อหน้าที่การทำงาน 5. Happy Brain (หาความรู้) มีการศึกษาหาความรู้พัฒนานเองตลอดเวลาจากแหล่างต่างๆ นำไปสู่การเป็นมืออาชีพและความมั่นคงก้าวหน้าในการทำงานเพราะเชื่อว่า ถ้าเราทุกคนแสวงหาความรู้ใหม่ๆ มาเพิ่มพูนความรู้ และพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอ ก็จะเป็นอีกหนึ่งแรงผลักดัน ช่วยให้องค์กรพัฒนาขึ้นด้วยบุคลากรที่มีศักยภาพ 6. Happy Soul (ทางสงบ) มีความศรัทธาในศาสนาและมีศีลธรรมในการดำเนินชีวิต เพราะเชื่อว่า หลักธรรมคำสอนของศาสนา เป็นสิ่งที่จะช่วยการดำเนินชีวิตของทุกคนให้ดำเนินไปในเส้นืางที่ดีได้ ทำให้ทุกคนมีสติ มีสมาธิในการทำงาน สามารถรับมือกับปัญหาที่เข้สมาได้ ยึดหลักสนับสนุนให้เป็นคนดี คิดดี ทำดี และมีความศรัทธาในคุณงามความดีทั้งปวง 7. Happy Money (ปลอดหนี่้) มีเงิน รู้จักเก็บรู้จักใช้ ไม่เป็นหนี้ ปลูกฝังนิสัยอดออม ประหยัด รู้จักใช้ วิธีเงินไม่ใช้สุรุ่ยสุร่าย ใช้จ่ายแต่เท่าที่จำเป็น ยึดหลักคำสอนการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 8.Happy Family (ครอบครัวดี) มีครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคง ปลูกฝังนิสัยรักครอบครัว เพื่อนำไปเป็นหลักการใช้ชีวิต ให้รู้จักความรัก ความเชื่อมั่น และความศรัทธาในคาวมดีงาม จึงจะเกิดเป็นคนดีในสังคม (รักตนเอง รักครอบครัว รักการงาน รักเพื่อน รักในสิ่งที่พอเพียง) ดังนั้น ผู้สามารถประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนาได้ ก็สามารถเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้เข้มแข็ง พัฒนาสตอปัญญาให้มีความรอบคอบ เมื่อทำงานแล้วพบปัญหาและอุปสรรคต่างๆ สามารถตั้งรับกับปัญหาได้ดีขึ้น องค์การบริหารส่วนตำบลทับช้าง จึงจัดโครงการ "ปฏิบัติธรรมนำสุข" ขึ้นเพื่อให้บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนตำบลทับช้าง ได้ตระหนักและเล็งถึงความสำคัญของหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่จะสามารถนำมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปฏิบัติตนที่ไม่เหมาะสมซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อสุขภาพ และสามารถนำหลักธรรมนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันรวมถึงชีวิตการทำงานให้มีความสุขได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนตำบลทับช้าง ได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น และสามารถนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันรวมถึงถึงชีวิตการทำงานได้
  2. เพื่อปฏิบัติธรรมฝึกจิตภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา
  3. เพื่อให้เป็นการผ่อนคลายกายและจิตใจจากความเครียด
  4. เพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีจิตใจเกื้อกูล สงบร่มเย็น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้รับขวัญและกำลังใจจากการอบรม มีพลังกายพลังใจในการทำงานและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และนำความรู้ที่ได้รับจากการฟังธรรมและปฏิบัติธรรมไปเผยเเพร่บุคคลอื่นๆเป็นการขยายเครือข่ายในสังคมต่อไป 3.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน 4.อบต. ทับช้าง จะดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดโรงเรียนรักษาศีล 5 และหมู่บ้าน รักษาศีล 5


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ติดต่อประสานวิทยากร ประสานสถานที่ปฏิบัติธรรม

    วันที่ 19 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    0 50

    2. ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากร อบต.ทับช้างและประชาชนในพื้นที่

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    0 50

    3. กิจกรรมอบรม

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    50 50

    4. ฝึกปฏิบัติธรรม

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    0 50

    5. 1.ตักบาตร 2.บำเพ็ญประโยชน์ เช่น ทำความสะอาดบริเวณวัดในตำบล เช่น วัดทับช้าง วัดวังไทร วัดบ้านลุ่ม เป็นต้น

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    0 50

    6. รายงานผลการดำเนินงาน

    วันที่ 28 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

     

    0 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักธรรม จริยธรรม ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำงานได้อย่างเหมาะสม 2.บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนทั่วไป ได้นำหลักปฏิบัติธรรม นำไปสู่การปฏิบัติในครอบครัว,โรงเรียน,หมู่บ้าน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนตำบลทับช้าง ได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น และสามารถนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันรวมถึงถึงชีวิตการทำงานได้
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 ได้นำความรู้มาใช้ในหลักธรรมคำสอนมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันรวมทั้งชีวิตการทำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    2 เพื่อปฏิบัติธรรมฝึกจิตภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 สามารถปฏิบัติธรรมฝึกจิตภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา

     

    3 เพื่อให้เป็นการผ่อนคลายกายและจิตใจจากความเครียด
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีสุขภาพจิตที่ดี

     

    4 เพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีจิตใจเกื้อกูล สงบร่มเย็น
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีทัศนคติที่ดีในการอยู่ในสังคม มีจิตใจเกื้อกูล สงบร่มเย็น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคลากรของ อบต.ทับช้าง และประชาชนตำบลทับช้าง ได้รับความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น และสามารถนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันรวมถึงถึงชีวิตการทำงานได้ (2) เพื่อปฏิบัติธรรมฝึกจิตภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา (3) เพื่อให้เป็นการผ่อนคลายกายและจิตใจจากความเครียด (4) เพื่อก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีจิตใจเกื้อกูล สงบร่มเย็น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปฏิบัติธรรมนำสุข จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5198-2-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลทับช้าง (นายกิจนันทร์ เพ็ชรชุม,น.ส.สายใหม่ อุนทรีจันทร์,น.ส.สุพิชฌาย์ ทิมทอง,นางนันทพร พรมทอง,นายพชร ช่วยชู) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด