โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
รหัสโครงการ | 60-L5180-3-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองการศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหมอไทร |
วันที่อนุมัติ | 16 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 74,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสาลีหะบากา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.794,100.751place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 28 ก.ย. 2560 | 28 ก.ย. 2560 | 74,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 74,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยรุ่น เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหาร สิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอมเตี้ย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ ประสิทธิภาพการทำงานจะต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ การเจริญเติบโตของเด็กในช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 5 ปีเป็นช่วงที่มีความสำคัญอย่างมากต่อโครงสร้างทางด้านร่างกายและสมอง โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมอง ส่งผลต่อระดับเชาวน์ปัญญาและพัฒนาการของเด็กรวมทั้งมีผลต่อการสร้างภูมิทานโรคดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับการดูแลแก้ไข
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
28 ก.ย. 60 | คืนเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่าหมอไทร | 0 | 74,000.00 | - | ||
รวม | 0 | 74,000.00 | 0 | 0.00 |
- ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง หากชำรุดขอสนับสนุนกองทุนฯเพื่อจักหาทดแทน
- ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กเล็กที่พ่อแม่นำมาฝากทุก 3 เดือน
- บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็กสีชมพู
- จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
- เชิญพ่อแม่เด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
- ความสำคัญของอาหาร อาหารที่ควรเพิ่มสำหรับเด็กผอม
- วิธีการปรับพฤติกรรมและนิสัยการกินของเด็ก
- ความสำคัญของการเล่นและการออกกำลัง
-2-
- วิธีการกระตุ้นให้เด็กเล่นและลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
- การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
- ครูผู้ดูแลเด็กร่วมกับพ่อแม่ในการแก้ปัญหาเด็กน้ำหนักน้อยหรือผอม โดย 6.1 ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ครูผู้ดูแลเด็ก กระตุ้นให้เด็กกินผักผลไม้มากขึ้น (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
- กรณีเด็กผอม ครูผู้ดูแลเด็กเพิ่มอาหารเสริมให้เด็ก 1 มื้อ เช่น นมและไข่ กระตุ้นให้เด็กเล่นตามปกติ อย่างน้อยวันละ 60 นาที (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ) 6.2 ที่บ้าน
- พ่อแม่ กรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้น เพิ่มอาหารที่มีไขมัน/โปรตีน (ตามที่กรมอนามัยแนะนำ)
- ชั่งน้ำหนัก สัปดาห์ละ 1 ครั้ง / วัดส่วนสูงเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง จนครบ 2 เดือน และแนะนำพ่อแม่ให้ดำเนินการต่อเนื่อง
- สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล
เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าหมอไทร มีภาวะโภชนาการปกติ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2560 10:41 น.