กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูวานี มามะ




ชื่อโครงการ โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2536-1-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2536-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศ ประมาณปีละกว่า 3,000 ราย เฉลี่ยวันละ 8 ราย แต่ละปี พบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 6,000 ราย อายุที่พบเฉลี่ยประมาณ 45- 50 ปี ผู้ป่วยกว่าร้อยละ 80 มีอายุ 35 ปี กลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูกสูงกว่าคนทั่วไปได้แก่ ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกตั้งแต่อายุยังน้อย ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือติดเชื้ออื่นๆ เช่นเชื้อเริมหรือโรคเอดส์ รวมทั้งผู้หญิงที่สูบบุหรี่เป็นประจำด้วย (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2545
อย่างไรก็ตาม การดำเนินของโรคนี้ค่อนข้างช้า เริ่มตั้งแต่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงจนกลายเป็นเซลล์มะเร็ง จะใช้เวลาประมาณ 10 - 15 ปี ทำให้ผู้หญิงที่เป็นโรคมักไม่รู้ตัวมาก่อนโดยพบว่าผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกกว่า ร้อยละ 80 จะมาพบแพทย์ในระยะที่เซลล์มะเร็งลุกลามแล้ว ซึ่งการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำแป็บสเมียร์ (Pap smear) โดยป้ายเยื่อบุปากมดลูกไปตรวจหาเซลล์มะเร็งทุก 5 ปี จะช่วยลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกลงได้ร้อยละ 84 และลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้
      จากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะที่ผ่านมา ปีงบประมาณ 2558 - 2561 อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก คิดเป็นร้อยละ 19.50 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ สตรีกลุ่มเป้าหมายจะต้องได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80 ใน 5 ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวอันจะช่วยทำให้ลดผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่สตรีอายุ 30-60 ปี
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  3. เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริมแรกในสตรีอายุ 30- 60ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่สตรีอายุ30-60 ปี
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30-60 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 60
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30-60 ปี

วันที่ 11 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30-60 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.๒ หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน 100 คน ๑.๓ หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน 110 คน

 

110 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่สตรีอายุ30-60 ปี

วันที่ 12 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่สตรีอายุ30-60 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงวัยเจริญพันธ์เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน ๑๑๐ คน

 

110 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.๑ หญิงวัยเจริญพันธ์เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน ๑๑๐ คน ๑.๒ หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน 100 คน ๑.๓ หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน 110 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่สตรีอายุ 30-60 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ60ของกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
0.00

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ60ของกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
0.00

 

3 เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริมแรกในสตรีอายุ 30- 60ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ60ของกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่สตรีอายุ 30-60 ปี (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (3) เพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริมแรกในสตรีอายุ 30- 60ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่สตรีอายุ30-60 ปี (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในสตรี อายุ 30-60 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดุแลสุขภาพสตรีด้วยการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2536-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูวานี มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด