กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปีงบประมาณ๒๕๖๐
รหัสโครงการ 60-L5275-1-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 25,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.9,100.244place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือจะปำลายอวัยวะภายในร่างกาย จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อโรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลทุ่งตำเสา เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ ผลระทบจาการใช้สารเคมีในหารควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรในตำบลทุ่งตำเสา ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก การนำมาใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับสุขภาพ โดยตรง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรในตำบลทุ่งตำเสา จึงได้จัดทำโครงการ ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลทุ่งตำเสา ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.๑ ประชาชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ ๒๕

 

2 ๑.๒ประชาชนที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัย/มีความเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๘๐

 

3 ๑.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติและปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๕

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๒.๑ ประชุมชี้แจงโครงการ แนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
๒.๒ จัดทำแผน/โครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุน ๒.๓ จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ ๒.๔จัดอบรมให้ความรู้เกษตร กลุ่มเปาหมายอบรม จำนวน ๑๐๐ คน ๒.๕ เตรียม เครื่องมือและอุปกรณ์ในหารตรวจคัดกรองโดยากรตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส ได้รับการสนับสนุนจาก สสจ.สงขลา ๒.๖ ประสานผู้นำชุมชนในพื้นที่ เพื่อเตรียมการวางแผนการดำเนินงานตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ๒.๗ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย ๒.๘ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน ๒.๙ ปรับปรุง พัฒนาจากผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน/โครงการต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๖.๑ประชาชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด ร้อยละ ๒๕ ๖.๒ประชาชนที่มีระดับสารเคมีในเลือดไม่ปลอดภัย/มีความเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ ๘๐ ๖.๓ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือด เกณฑ์ปกติปละปลอดภัย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๕

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2560 13:11 น.