กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขนิสัยเพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน
รหัสโครงการ 60 - L5269 08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดป่าขวาง
วันที่อนุมัติ 30 กันยายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 มีนาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน 5 เมษายน 2560
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนวัดป่าขวาง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลรำแดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.29,100.486place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 ก.พ. 2560 31 มี.ค. 2560 30,000.00
รวมงบประมาณ 30,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างสงบสุขและปลอดภัยเป็นสิ่งที่ทุกคนปราถนา การมีสุขนิสัยที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญด้านสุขภาพของมนุษย์ หากมนุษย์สามารถปฎิบัติตนให้เป็นไปตามหลักสุขนิสัยที่ดี ทำให้ลดการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อการรักาาสุขภาพและส่งผลต่อสุขภาพจิตที่ดีทั้งของตนเองและผู้ที่เกี่ยวข้อง โรงเรียนวัดป่าขวางได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขนิสัยเพื่อสุขภาพที่ดีของนักเรียน เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีพฤติกรมสุขภาพที่ดีติดตัวไปในอนาคต และจะนำมาซึ่งประชากรที่มีคุณภาพของชุมชนและประเทศชาติต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. รวบรวมความรู้และแนวปฎิบัติที่ถูกต้องตามหลักสุขนิสัยที่ดี
  2. อบรมความรู้พร้อมสาธิตแนวปฎิบัติให้นักเรียนได้เรียนรู้เพื่อส่งเสริิมการปฎิบัติที่ถูกต้องตามหลักสุขนิสัยที่ดี
  3. จัดทำสื่อและวัสดุด้านสุขภาพและสุขนิสัยที่ดีเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้
  4. นิเทศ กำกีับติดตามการดำเนินงานตามโครงการ
  5. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้อง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในหลักการปฎิบัติที่ถูกต้องตามหลักสุขนิสัยที่ดีได้
  2. นักเรียนเกิดจิตสำนึกในหลักการปฎิบัติที่ถูกต้องตามหลักสุขนิสัยที่ดี
  3. นักเรียนนำวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เพื่อสุขภาพได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2560 13:43 น.