กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดซื้อวัสดุ1 มกราคม 2560
1
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.  ชื่อโครงการ  โครงการจัดหาวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                     ควบคุมโรคติดต่อ  ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๒.  วัตถุประสงค์ ๑.  เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ                   ๒.  เพื่อสามารถป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ ๓.  เพื่อให้มีวัสดุการแพทย์  และเคมีภัณฑ์  เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
๔.  เพื่อให้มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคติดต่อเพียงพอทั้งในโรงเรียนและชุมชน ๓.  งบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง  เป็นเงิน  ๒๙๙,๗๐๐  บาท ได้ใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น  ๒๕๑,๔๖๔  บาท  ซึ่งมีค่าใช้จ่าย  ดังนี้ ๓.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๓.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
    ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๓.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๓.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
    ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๓.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๓.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
๓.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๓.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท
๓.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ เช่น แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท

๔.  ระยะเวลาดำเนินการ เดือนมกราคม – เดือนกันยายน  ๒๕๖๐ ๕.  ผลการดำเนินงาน จัดซื้อวัสดุการแพทย์  เคมีภัณฑ์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์  ในการป้องกันและ                    ควบคุมโรคติดต่อ  ดังนี้ ๕.๑ น้ำยาเคมีกำจัดยุง  จำนวน ๓๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๖๕๐ บาท  เป็นเงิน  ๔๙,๕๐๐ บาท ๕.๒ ทรายกำจัดลูกน้ำชนิดซอง ๕๐ กรัม ๕๐๐ ซอง/ถัง จำนวน ๒๐ ถัง ๆ ละ
    ๔,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๙๘,๐๐๐ บาท ๕.๓ โลชั่นทากันยุงชนิดซอง ขนาด ๘ กรัม จำนวน ๑๒,๐๐๐ ซอง ๆ ละ ๕ บาท  เป็นเงิน     ๖๐,๐๐๐ บาท ๕.๔ สเปรย์ฉีดกำจัดยุงชนิดกระป๋องขนาด ๖๐๐ มล. จำนวน ๒๐๐ กระป๋อง ๆ ละ
    ๙๐ บาท เป็นเงิน  ๑๘,๐๐๐ บาท ๕.๕ น้ำยาฆ่าเชื้อโรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๐ ลิตร ๆ ละ ๑,๙๐๐ บาท  เป็นเงิน     ๑๙,๐๐๐ บาท ๕.๖ หน้ากากป้องกันอนุภาคฝุ่นละออง (N ๙๕) ๒๐ ชิ้น/แพ็ค ๆ ละ ๕๘๐ บาท จำนวน     ๕ แพ็ค  เป็นเงิน  ๒,๙๐๐ บาท
๕.๗ หน้ากากอนามัย ๕๐ ชิ้น/กล่อง ๆ ละ ๑๕๐ บาท จำนวน ๑๐ กล่อง  เป็นเงิน     ๑,๕๐๐ บาท ๕.๘ ไฟฉายขนาดเล็ก จำนวน ๑๐ กระบอก ๆ ละ ๘๐ บาท  เป็นเงิน  ๘๐๐ บาท ๕.๙ สื่อประชาสัมพันธ์โรคติดต่อ แผ่นพับ ป้ายไวนิล  ป้ายรณรงค์  เป็นเงิน     ๑,๗๖๔ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  ๒๙๙,๗๐๐ บาท               คงเหลือเงินเมื่อหักค่าใช้จ่าย  ๔๘,๒๓๖  บาท   

เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมดังนี้ ๑.  กิจกรรมการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก     ๑.๑ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในชุมชน จำนวน ๔๕ ชุมชน ปีละ ๒ ครั้ง     ๑.๒ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงในโรงเรียนก่อนเปิดภายเรียน เทอมละ ๒ ครั้ง ห่างกัน ๗ วัน จำนวน ๒ เทอม  รวมเป็น ๔ ครั้ง ในโรงเรียนเขตเทศบาล เมืองพัทลุง  จำนวน ๒๘ โรง  เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน     ๑.๓ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงบ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านในรัศมี ๑๐๐ เมตร โดยผู้ป่วยแต่ละรายจะดำเนินการ ๓ ครั้ง ในวันที่ ๐,๓,๗ - ในชุมชน ๑๒๐ รายๆ ละ ๓ ครั้ง  รวม ๓๖๐ ครั้ง - ในโรงเรียน ๖๕ รายๆ ละ ๓ ครั้ง รวม ๑๙๕ ครั้ง     ๑.๔ การพ่นสารเคมีกำจัดยุงตามคำร้องทั่งไปในชุมชนและสถานที่ราชการต่าง ๆ จำนวน  ๔๕ ครั้ง ๒.  การควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียน ทำความสะอาดพื้น  ของใช้ของเล่นจำนวน  ๕๐ ราย  จำนวน ๙  โรงเรียน  และในชุมชน จำนวน  ๑๐  ชุมชน ๓.  การทำแผ่นพับ  ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์  เรื่องโรคติดต่อต่าง ๆ
๖.  ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ๖.๑  สร้างความตระหนักให้ประชาชนเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านของตนเอง  เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีในการควบคุมโรค ๖.๒  แนะนำให้ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและยุงลายตัวเต็มวัยแทน การใช้สารเคมี ๖.๓  พ่อแม่  ผู้ปกครอง  และครูผู้ดูแลเด็ก  ควรเน้นเรื่องสุขอนามัยของเด็ก  เพื่อควบคุมโรคมือ เท้า ปาก  โรคอีสุกอีใส  และโรคติดต่อที่เกิดบ่อยในโรงเรียน  เพื่อควบคุมการระบาดของโรค