กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้ ๒.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ -ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์-ฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 3 เดือน –คลอดสถานบริการสาธารณสุข(โรงพยาบาล) ๓.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก ๔. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็กในแต่ละหมู่บ้านให้มีความรู้และสามารถ ให้คำแนะนำ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมใน การดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม ๕. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ๑. เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนและ องค์การบริหารส่วนตำบลราตาปันยัง ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ๒. หญิงมีครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และ มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์ เพื่อลดภาวะเสี่ยงระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด ๓. อสม , แกนนำชุมชน มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสามารถถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนได้ และชุมชนมีแผนงาน มีมาตรการทางสังคมเพื่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก โดยชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้      ๒.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่  -ฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์-ฝากท้องก่อนอายุครรภ์ 3 เดือน –คลอดสถานบริการสาธารณสุข(โรงพยาบาล)    ๓.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนนำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก          ๔. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอนามัยแม่และเด็กในแต่ละหมู่บ้านให้มีความรู้และสามารถ          ให้คำแนะนำ  แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมใน          การดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม          ๕. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อร่วมกันค้นหา      ปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณที่ผ่านมา ๒.แต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์  ๓. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานอนามัยแม่และเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh