กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง


“ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ”

ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายวายุ มามุ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ

ที่อยู่ ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3048-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลราตาปันยัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3048-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ราตาปันยัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในและนอกประเทศ สามารถเข้าถึงยังผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่าย ทั้งชุมชนเมืองไปจนกระทั่งเขตชนบทการสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้มูลค่าการใช้ยาของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลราตาปันยัง ถือเป็นหน่วยบริการภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดชุมชนในระดับต้นๆหากบุคลากรผู้ปฏิบัติงานสามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข(คบส.)ได้อย่างมีประสิทธิภาพก็จะมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยและผู้บริโภคในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ รวมทั้งยังสามารถส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภคไม่ให้ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วยจากการสำรวจปัญหาในชุมชนที่เกี่ยวกับงานคบส. คปสอ.ยะหริ่ง ปี 2561 พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดเรียงลำดับได้ ดังนี้ 1. ร้านชำจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคไม่มีเลข อย./วัน เดือน ปี ผลิต หมดอายุ คิดเป็น 100%ของปัญหาทั้งหมด นั่นคือ ทุกตำบลในอำเภอยะหริ่งพบปัญหาเดียวกันนี้ 2. ผู้ประกอบการไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ คิดเป็น 83.3% 3.ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย/ยาชุด/ยาปฏิชีวนะในชุมชน คิดเป็น 77.8%4. ร้านชำจำหน่ายอาหารที่ไม่มีฉลาก/เครื่องหมาย อย คิดเป็น 50%. 5. ร้านชำจำหน่ายอาหารนำเข้าจากมาเลเซีย เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นจะเห็นได้ว่าร้านชำเป็นหนึ่งในแหล่งกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยในชุมชนและมีผลต่อผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากสะดวก มีความคุ้นเคย จึงจำเป็นต้องสร้างความตระหนักรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนให้มีองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมต่อกับการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU) โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย อีกทั้ง ส่งผลให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค ตามสโลแกนงานคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง ที่ว่า “ผู้บริโภคยุคใหม่ รู้ซื้อ รู้ใช้ รู้ระวังภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ, ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น 2. พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเล
  2. 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ, ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น 2. พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการและประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
  2. ร้านชำในตำบลมีคุณภาพปลอดยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ, ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น 2. พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเล

วันที่ 14 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค -พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการร้านชำมีองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค อสม มีความรู้เกี่ยวกับ RUD

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านชำมีองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค 2. ร้อยละ 80 ของ อสม.มีความรู้เกี่ยวกับ RDU มากกว่าร้อยละ 70 ของแบบทดสอบ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค 2.เพื่อพัฒนาร้านชำในชุมชน ให้มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ, ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น  2. พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเล (2) 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลแก่ผู้ประกอบการร้านชำ, ครู, ตัวแทนนักเรียน อย.น้อย , ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นต้น  2. พัฒนาร้านชำในชุมชนให้เป็น “ร้านชำคุณภาพ” ตามเกณฑ์ และคัดเล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3048-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวายุ มามุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด