โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-4-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-4-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสร้างสุขภาพถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง จากสภาพการดำเนินชีวิตที่เร่งรีบในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้คนทั่วทุกมุมโลกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมนิยมรับประทานอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป ไร้เวลาพักผ่อน ขาดการออกกำลังกาย แต่มีเวลาดื่มสังสรรค์และสูบบุหรี่เพื่อเข้าสังคม ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนนำมาซึ่งการเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมะเร็ง อ้วนลงพุง หลอดเลือดสมองและหัวใจ จากสรุปผลการดำเนินงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ปี ๒๕๕๙ของเทศบาลนครสงขลาพบว่าประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต ร้อยละ ๙๓.๘๗พบกลุ่มเสี่ยงสูงมากร้อยละ ๔.๑๖ และคัดกรองเบาหวานร้อยละ ๘๕.๙๙พบกลุ่มเสี่ยงสูงมากร้อยละ ๑.๘๙ และพบกลุ่มป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๐ พบมะเร็งเต้านมรายใหม่ ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๐ และพบมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๐ แม้ระบบสุขภาพของคนไทยที่ผ่านมาจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมดีขึ้น และระบบบริการสุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้น แต่ให้ความสำคัญในเรื่องของการรักษาพยาบาลเป็นหลัก ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ดูแลสุขภาพแบบเชิงรุกด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชน การเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภคอาหาร ที่สุก สะอาด ปลอดภัย ไม่ติดยาเสพติด ส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่าย ๆ ด้วยต้นทุนที่ต่ำและป้องกันโรคต่าง ๆ อาทิ โรคเบาหวานโรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี สามารถทำงานได้เต็มศักยภาพ
เพื่อให้การดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน เพื่อลดปัญหา ที่สามารถป้องกันได้ ทั้งทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วม จำเป็นจะต้องมีความรู้ มีทักษะ ที่ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหากิจกรรม ๓ อ. ๒ ส. ได้แก่ การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย สุขภาพจิต อารมณ์ สุรา บุหรี่ การแพทย์แผนไทยและการบริการด้านทันตกรรม พร้อมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตให้กินถูกหลัก รู้จักผ่อนคลายอารมณ์ และออกกำลังกายเป็นประจำ อันเป็นปัจจัยสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อให้ก้าวสู่การมีสุขภาพที่ดี และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว เกิดการร่วมมือแบบบูรณาการในการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายพันธมิตรในชุมชน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังประชาชนผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภทให้มีความรู้และมีทักษะในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา ให้ได้รับการส่งเสริมสุขภาพทางด้านอาหารเพื่อสุขภาพ นวัตกรรมการออกกำลังกายต่าง ๆ ด้านการแพทย์แผนไทย และด้านการบริการทันตกรรมเป็นต้น เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้เรื่องสุขภาพมากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพปี๒๕๖๐ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ
- ๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
- ๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร
เพื่อสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองและได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรับรู้ในด้านข้อมูล
สุขภาพ
๒.มีผลทำให้เกิดการรวมตัวด้านสุขภาพของหน่วยงานและเครือข่ายภาคประชาชนที่ช่วยให้ผู้สนใจในการรัก
สุขภาพได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติ
๓.ประชาชนมีความสนใจในการดูแลสุขภาพและตระหนักในการตรวจสุขภาพและการออกกำลังกายมากขึ้น
เป็นผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
๔.ประชาชนมีความสนใจในการดูแลสุขภาพและตระหนักในการตรวจสุขภาพและการออกกำลังกายมากขึ้น
๕.ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการตรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓. สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ
๑. ประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการจัดงานเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
๒. ดำเนินการจัดโครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ ในวันที่ ๒๔- ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ริมกำแพงเมือง ถนนจะนะ เทศบาลนครสงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ได้จัดกิจกรรม ดังนี้
๒.๑ การนำเสนอนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพของชุมชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน ๑๖ ชุมชนโดยการให้ชุมชนนำเสนอวัตถุดิบและขั้นตอนการปรุงอาหารบนเวที
๒.๒ การนำเสนอนวัตกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิก จำนวน ๖ ทีม
๒.๓ การบริการนวดแผนไทยโดยแพทย์แผนไทย จำนวน ๑๐ คน จำนวน ๒ วัน มีประชาชนมารับการนวดแผนไทยจำนวน ๑๓๖ คน
๒.๔ การให้บริการทันตกรรม โดยทันตแพทย์และทันตสาธารณสุข มีผู้มารับบริการ จำนวน ๙๓ คน
๒.๕ ประชาชนทั่วไป/ผู้นำชุมชน/แกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข/นักศึกษา/ นักวิชาการ/ส่วนราชการต่าง ๆ/ภาคเอกชน เข้าร่วมโครงการจำนวน ๑,๖๔๒ คน
๕. สรุปการใช้งบประมาณ
๕.๑ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๕.๒ งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท ดังรายการ
๑. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒,๐๐๐ บาท
๒. ค่าสนับสนุนนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ จำนวน ๔๘,๐๐๐ บาท
3. ค่าสนับสนุนนวัตกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิค จำนวน 18000 บาท
4.ค่าบริการเหมาจ่าบแพทย์แผนไทย จำนวน 10000 บาท
5.ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เจ้าหน้าที่ทันตกรรม จำนวน 1000 บาท
6.ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 21000 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ๑.ชมรมรักษ์สุขภาพในเขตเทศบาลนครสงขลาเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ร้อยละ ๖๐
2
๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ๒.มีการนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีมงานด้านสุขภาพและกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขต
พื้นที่ต่าง ๆ เพื่อนำไปพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
3
๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร
เพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ๓.ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีการนำเสนอนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ ไม่น้อยกว่า ๑๐
ชนิด
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ (2) ๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน (3) ๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร
เพื่อสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-4-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-4-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-4-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสร้างสุขภาพถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง จากสภาพการดำเนินชีวิตที่เร่งรีบในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้คนทั่วทุกมุมโลกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมนิยมรับประทานอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป ไร้เวลาพักผ่อน ขาดการออกกำลังกาย แต่มีเวลาดื่มสังสรรค์และสูบบุหรี่เพื่อเข้าสังคม ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนนำมาซึ่งการเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมะเร็ง อ้วนลงพุง หลอดเลือดสมองและหัวใจ จากสรุปผลการดำเนินงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ปี ๒๕๕๙ของเทศบาลนครสงขลาพบว่าประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิต ร้อยละ ๙๓.๘๗พบกลุ่มเสี่ยงสูงมากร้อยละ ๔.๑๖ และคัดกรองเบาหวานร้อยละ ๘๕.๙๙พบกลุ่มเสี่ยงสูงมากร้อยละ ๑.๘๙ และพบกลุ่มป่วยเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ ๑.๖๐ พบมะเร็งเต้านมรายใหม่ ๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๐ และพบมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๐ แม้ระบบสุขภาพของคนไทยที่ผ่านมาจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมดีขึ้น และระบบบริการสุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้น แต่ให้ความสำคัญในเรื่องของการรักษาพยาบาลเป็นหลัก ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ดูแลสุขภาพแบบเชิงรุกด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชน การเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภคอาหาร ที่สุก สะอาด ปลอดภัย ไม่ติดยาเสพติด ส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดีเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่าย ๆ ด้วยต้นทุนที่ต่ำและป้องกันโรคต่าง ๆ อาทิ โรคเบาหวานโรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯ ไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดี สามารถทำงานได้เต็มศักยภาพ เพื่อให้การดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน เพื่อลดปัญหา ที่สามารถป้องกันได้ ทั้งทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วม จำเป็นจะต้องมีความรู้ มีทักษะ ที่ถูกต้อง ครอบคลุมเนื้อหากิจกรรม ๓ อ. ๒ ส. ได้แก่ การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย สุขภาพจิต อารมณ์ สุรา บุหรี่ การแพทย์แผนไทยและการบริการด้านทันตกรรม พร้อมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตให้กินถูกหลัก รู้จักผ่อนคลายอารมณ์ และออกกำลังกายเป็นประจำ อันเป็นปัจจัยสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพื่อให้ก้าวสู่การมีสุขภาพที่ดี และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว เกิดการร่วมมือแบบบูรณาการในการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายพันธมิตรในชุมชน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังประชาชนผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภทให้มีความรู้และมีทักษะในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา ให้ได้รับการส่งเสริมสุขภาพทางด้านอาหารเพื่อสุขภาพ นวัตกรรมการออกกำลังกายต่าง ๆ ด้านการแพทย์แผนไทย และด้านการบริการทันตกรรมเป็นต้น เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้เรื่องสุขภาพมากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพปี๒๕๖๐ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ
- ๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
- ๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร เพื่อสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ประชาชนได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองและได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรับรู้ในด้านข้อมูล
สุขภาพ
๒.มีผลทำให้เกิดการรวมตัวด้านสุขภาพของหน่วยงานและเครือข่ายภาคประชาชนที่ช่วยให้ผู้สนใจในการรัก
สุขภาพได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติ
๓.ประชาชนมีความสนใจในการดูแลสุขภาพและตระหนักในการตรวจสุขภาพและการออกกำลังกายมากขึ้น
เป็นผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
๔.ประชาชนมีความสนใจในการดูแลสุขภาพและตระหนักในการตรวจสุขภาพและการออกกำลังกายมากขึ้น
๕.ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการตรวจสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๓. สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ
๑. ประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการจัดงานเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ณ อาคารอเนกประสงค์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
๒. ดำเนินการจัดโครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ ในวันที่ ๒๔- ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ริมกำแพงเมือง ถนนจะนะ เทศบาลนครสงขลา ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ได้จัดกิจกรรม ดังนี้
๒.๑ การนำเสนอนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพของชุมชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน ๑๖ ชุมชนโดยการให้ชุมชนนำเสนอวัตถุดิบและขั้นตอนการปรุงอาหารบนเวที
๒.๒ การนำเสนอนวัตกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิก จำนวน ๖ ทีม
๒.๓ การบริการนวดแผนไทยโดยแพทย์แผนไทย จำนวน ๑๐ คน จำนวน ๒ วัน มีประชาชนมารับการนวดแผนไทยจำนวน ๑๓๖ คน
๒.๔ การให้บริการทันตกรรม โดยทันตแพทย์และทันตสาธารณสุข มีผู้มารับบริการ จำนวน ๙๓ คน
๒.๕ ประชาชนทั่วไป/ผู้นำชุมชน/แกนนำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข/นักศึกษา/ นักวิชาการ/ส่วนราชการต่าง ๆ/ภาคเอกชน เข้าร่วมโครงการจำนวน ๑,๖๔๒ คน
๕. สรุปการใช้งบประมาณ
๕.๑ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๕.๒ งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท ดังรายการ
๑. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒,๐๐๐ บาท
๒. ค่าสนับสนุนนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ จำนวน ๔๘,๐๐๐ บาท
3. ค่าสนับสนุนนวัตกรรมการออกกำลังกายแบบแอโรบิค จำนวน 18000 บาท
4.ค่าบริการเหมาจ่าบแพทย์แผนไทย จำนวน 10000 บาท
5.ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เจ้าหน้าที่ทันตกรรม จำนวน 1000 บาท
6.ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 21000 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ ตัวชี้วัด : ๑.ชมรมรักษ์สุขภาพในเขตเทศบาลนครสงขลาเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ร้อยละ ๖๐ |
|
|||
2 | ๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ตัวชี้วัด : ๒.มีการนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีมงานด้านสุขภาพและกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขต พื้นที่ต่าง ๆ เพื่อนำไปพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน |
|
|||
3 | ๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร
เพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : ๓.ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีการนำเสนอนวัตกรรมการปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ ไม่น้อยกว่า ๑๐ ชนิด |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2500 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อจัดกิจกรรมการออกำลังกายให้กับประชาชนและชมรมรักษ์สุขภาพ (2) ๒.เพื่อให้ทีมงานทางด้านสุขภาพ และกองทุนหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ต่าง ๆ นำเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน (3) ๓.เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลนครสงขลา มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมการปรุงอาหาร เพื่อสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเทศบาลนครสงขลารักษ์สุขภาพ ปี ๒๕๖๐ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-4-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......