กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
60.00 20.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
60.00 20.00

 

3 เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่
60.00 20.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
60.00 20.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
55.00 15.00

 

6 เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้อาสาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : สร้างองค์ความรู้ให้อาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
90.00

 

7 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยและอัตราปาวยด้วยโรคที่ป้องกันได้
90.00

 

8 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการว่างแผนการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่ (4) เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ (6) เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้อาสาสาสมัครสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง (7) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ (8) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคตามฤดูกาล /กิจกรรมสันทนาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันและควบคุมโรคตามฤดูกาล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh