กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/4/01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2016 ถึง 30 กันยายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60/L2535/4/01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2016 - 30 กันยายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 144,517.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้มีการดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18(9) และมาตรา 47 โดยได้เริ่มดำเนินงานในปี 2553 และกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ปาเสมัส ได้จัดระเบียบการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม 5 ประเภท ตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนและแกนนำชุมชนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
  2. 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระดับอำเภอและระดับจังหวัด
  3. 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1 อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด
  4. 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯและสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนฯ ในพื้นที่
  5. 5.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส
  2. 2. ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส
  3. 3. ค่าเบี้ยประชุมที่ปรึกษากองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส
  4. 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประขุมคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือต้อนรับบุคคล คณะบุคคล
  5. 5. ค่าเดินทางไปราชการหรือติดต่องานราชการของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนหลักประกันสุขภาพ
  6. 6. ค่าวัสดุอุปกรณ์
  7. 7. ค่าป้ายไวนิลกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ปาเสมัส
  8. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 9/2559
  9. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7/2559
  10. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 7/2559
  11. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 10/2559
  12. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 11/2559
  13. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2560
  14. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2560
  15. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2560
  16. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2560
  17. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2560

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 38

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีการยันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมออนไลน์และมีฐานข้อมูล เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานกองทุนฯ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในงานส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน
  2. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ มีระบบการบริหารจัดการ การติดตาม วิเคราะห์ ประมวลผล ผ่านระบบออนไลน์ สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ของคณะกรรมการบริหารฯ
  3. จังหวัดนราธิวาสมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่สามารถเป็นตัวอย่าง (Best practice) ที่มีผลการดำเนินงานในระบบหลักประกันสุขภาพดีเด่น / เป็นนวัตกรรม
  4. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนราธิวาสเพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานสุขภาพชุมชนทั้งในด้านการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพในระดับชุมชน
  5. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานของกองทุนฯแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เกิดนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคในชุมชนของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7/2559

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2016

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 7/2559 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 จำนวน 8 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

8 0

2. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 7/2559

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2016

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายค่าเบี้ยประชุมคณะที่ปรึกษากองวทุนฯ ครั้งที่ 7/2559 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559   จำนวน 2 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

2 0

3. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2560

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2016

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะปรึกษากองทุนฯ ครั้งที่ 7/2559 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 จำนวน 2 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

1 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 10/2559

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2016

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 10/2559
    ลงวันที่ 25พฤศจิกายน 2559  จำนวน 8 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

8 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 11/2559

วันที่ 28 ธันวาคม 2016

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 11/2559 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2559 จำนวน 6 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

6 0

6. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2560

วันที่ 26 มกราคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 7/2559 ลงวันที่ 26 มกราคม 2560 จำนวน 12 คนๆละ 400 บาท  เป็นเงิน 4,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

12 0

7. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2560

วันที่ 16 มีนาคม 2017

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560 ลงวันที่ 16 มีนาคม 256 จำนวน 6 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

6 0

8. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 9/2559

วันที่ 12 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 9/2559 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559
    จำนวน 7 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

7 0

9. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2560

วันที่ 12 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

  • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2560 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 จำนวน 5 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

5 0

10. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2560

วันที่ 12 ตุลาคม 2020

กิจกรรมที่ทำ

    • จ่ายเป็นค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2560 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2560 จำนวน 10 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1 อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯและสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนฯ ในพื้นที่
ตัวชี้วัด :

 

5 5.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 38
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 38

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตรงตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ (2) 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชน แก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระดับอำเภอและระดับจังหวัด (3) 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1 อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด (4) 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯและสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนฯ ในพื้นที่ (5) 5.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส (2) 2. ค่าเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส (3) 3. ค่าเบี้ยประชุมที่ปรึกษากองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต. ปาเสมัส (4) 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประขุมคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือต้อนรับบุคคล คณะบุคคล (5) 5. ค่าเดินทางไปราชการหรือติดต่องานราชการของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนหลักประกันสุขภาพ (6) 6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ (7) 7. ค่าป้ายไวนิลกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ปาเสมัส (8) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 9/2559 (9) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7/2559 (10) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 7/2559 (11) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 10/2559 (12) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 11/2559 (13) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2560 (14) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2560 (15) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2560 (16) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2560 (17) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2560

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาเสมัส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/4/01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด