กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายตายูดิง ดอเลาะห์

ชื่อโครงการ โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2543-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2543-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากบ้านตาเซะเหนือ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัด นราธิวาส ตั้งอยู่ ในพื้นที่ห่างไกลจากตัวเมื่อง และสภาพพื้นที่มีลักษณเป็นป่า ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดปํญหายาเสพติด จากปัญหาในหมู่บ้านมีเยาวชนที่มีการเสพของมืนเม่าทำให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น การทะเลาะ และมีปัญหาหลักหลายที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านทำให้สังคมและประเทศมีผลกระทบตามมา ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านและประเทศไทยอย่างรุนแรง เป็นอันดับต้นๆของประเทศทุกวันนี้ประเทศไทยต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากเพื่อดำเนินแก้ไขปัญหายาเสพติดนี้ รวมทั้งทรัพยากรในด้านอื่นๆ มาช่วยกันเพื่อการแก้ปัญหายาเสพติด รัฐบาลได้ใช้ความพยายามทุกวิถีทางทั้งภายในและภายนอกประเทศ ร่วมมือกับนานาชาติหาทางแก้ไข้ปัญหายาเสพติดเหล่านี้ปัญหายาเสพติดอาจมีส่วนชักนำทำให้เกิดปัญหาหมู่บ้านและสังคมหมุนเวียนเช่น ปัญหาอัญชยากรรม ปัญหาโสเภณี ซ่องโจร การพนันและปัญหาอื่นๆ อีกหลายอย่าง ซึ่งปัญหาที่กล่าวมามีความกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนตลอดทางด้านเศรษฐกิจขนาดนี้ยาเสพติดยังคงระบาดในหมู่เยาว์ชนหรือกลุ่มเด็กวัยรุ่นมิได้บรรเทาเบาบางลงและดูเหมือนว่าจะเพิ่มปริมาณมากขึ้นในกลุ่มเยาว์ชนหรือวัยรุ่นไทยยิ่งนานวันปัญหายาเสพติดก็ยิ่งทับถมและเรื้อรัง เป็นสิ่งที่ยากต่อการแก้ไขทวีคูณมาตรการทางกฎหมายที่ใช้สกัดยาเสพติดเป็นมาตรการที่สำคัญในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และ ทำให้เกิดความต้องการอย่างแรงกล้าทางร่างกายและจิตใจ ผู้เสพต้องตกเป็นทาสของยาเสพติดจะหยุดเสพมิได้ ผู้เสพต้องเพิ่มปริมาณของยาเสพติดเรื่อยๆ จนเกิดอันตรายในต่อร่างกาย
และเนื่องจากทางกลุ่มสมาชิกโครงการมีความคิดตรงกับนโยบายและเป้าหมายของรัฐบาลที่ตรงกันเพื่ออยากลดปัญหาและป้องกันแก้ไข้เรื่องยาเสพติดในสังคมและประเทศชาติ สมาชิกโครงการได้รวบรวมความคิดและได้ประชุมเพื่อจะจัดโครงการยาเสพติดในกลุ่มนักเรียนและเยาวชนในหมู่บ้านตาเซะเหนือเพื่อป้องกันไม่ให้อนาคตของชาติเป็นทาสของยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้กับกันนักเรียนและกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนตาดีกา
  2. เพื่อป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน
  3. เพื่อลดความเสี่ยงยาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี้ยวกับยาเสพติด
  2. การออกกำลังกายหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติด
  3. ระดมความคิดยาเสพติดให้โทษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. นักเรียนตาดีกา บ้านตาเซะเหนือ มีความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษที่ร้ายแรงและไม่คิดที่จะยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ๒. ป้องกันปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาว์ชน ๓. ลดปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี้ยวกับยาเสพติด

วันที่ 16 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษ ภัย ของยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้เพิ่มขึ้น และดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

 

85 0

2. การออกกำลังกายหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติด

วันที่ 16 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สาธิตการออกกกำลังกาย และมีการออกกำลังกายร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

85 0

3. ระดมความคิดยาเสพติดให้โทษ

วันที่ 16 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการระดมความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถแสดงความคิดเห็น และเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการเข้าร่วมกิจกรรมนี้

 

85 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้กับกันนักเรียนและกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนตาดีกา
ตัวชี้วัด : นักเรียนและกลุ่มเยาว์ชนในโรงเรียนตาดีกามีความรู้เรื่องยาเสพติดให้มากขึ้น ร้อยละ 80%
50.00

 

2 เพื่อป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เพื่อป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน ร้อยละ80%
60.00

 

3 เพื่อลดความเสี่ยงยาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เพื่อลดความเสี่ยงยาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาว์ชน ร้อยละ80%
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้กับกันนักเรียนและกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนตาดีกา (2) เพื่อป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน (3) เพื่อลดความเสี่ยงยาเสพติดในหมู่นักเรียนและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี้ยวกับยาเสพติด (2) การออกกำลังกายหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดปัญหายาเสพติด (3) ระดมความคิดยาเสพติดให้โทษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยาเสพติดให้โทษ ไม่มีประโยชน์นะจ๊ะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2543-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายตายูดิง ดอเลาะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด