กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดโครงการในระดับมากที่สุด คือ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.7 หรือร้อยละ 94 ความสุขเพิ่มขึ้นจาก 3.9 ระดับมาก เป็น 4.52 ระดับมากที่สุด และมีค่าการทำงานของสมองด้านความรู้และความเข้าใจ ในระดับเพิ่มขึ้นคือ 26.29

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสุขภาพแข็งแรง คะแนนความสุขและคะแนนการทำงานของสมองเพิ่มขึ้น
0.00 60.00

 

2 ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : การสะท้อนคิดของผู้สูงอายุ ว่ารู้สึกอบอุ่นใจ รู้สึกมีคุณค่าและมีความพึงพอใจในการเยี่ยมบ้าน 3.5 ใน 5 คะแนน
0.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตบลบ้านพร้าว ทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและชะลอการเสื่อมของสมอง มีการจัดกิจกรรมทุกวันพุธ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 8.00 น.-13.30 น. โดยมีกิจกรรม 1) ตรวจสุขภาพ ให้สุขศึกษารายบุคคล 2)สร้างเสริมสุขภาวะกายจิต เต้นบาลโลบ และอยู่กับลมหายใจด้วยความเมตตา 3)สุนทรีสนทนา เรื่องราวประทับใจ 4)เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5)ภาวะผู็นำและการใช้ชีวิตในสังคม โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผูัสูงอายุในพื้นที่ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรง มีสมาธิในการทำกิจกรรม มีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับการทำงานของสมอง (2) ผู้สูงอายุในพื้นที่ รู้สึก อบอุ่นใจที่มีคนมาเยี่ยม รู้สึกมีคุณค่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะกาย-จิต (2) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ : จัดรถรับส่งสำหรับคนที่มาด้วยตนเองไม่ไได้และไม่มีใครมาส่ง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh