กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

3.สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน และแกนนำ อสม./ประชาชนในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ และรายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
2. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3. ตรวจสารเคมีในเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบ Reactive paper ก่อนดำเนินกิจกรรมบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน            3 คน ปลอดภัย จำนวน 13 คน มีความเสี่ยง จำนวน 8 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 6 คน 4.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต วิธีการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน ข้อดีการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ข้อควรรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิคส์ ในเรื่องเมล็ดพันธ์ น้ำเลี้ยงระบบ ปั๊มน้ำและอัตราการไหล การเตรียมสารละลายอาหารพืชเข้มข้น และการเจือจางใช้งาน การปลูกและการดูแลรักษาและการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 5.กลุ่มเป้าหมายดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษและบริโภคผักปลอดสารพิษดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษในแปลงสาธิต ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน ๒ แปลง 6. ติดตามการตรวจเลือดกลุ่มเป้าหมายโดยใช้กระดาษทดสอบReactive paper หลังบริโภคผักปลอดสารพิษจำนวน ๓๐ คน ผลการตรวจหาระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส พบว่า ปกติ จำนวน 5 คน ปลอดภัย จำนวน 19 คน มีความเสี่ยง จำนวน 4 คน และไม่ปลอดภัย จำนวน 2 คน 7. ติดตามและตรวจเยี่ยมประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ 6. การประเมินผล สรุปโครงการ


  1. สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 68,180 บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 54,980 บาท ดังรายการต่อไปนี้
    1. ค่าป้ายโครงการ730 บาท x 2 ป้าย จำนวนทั้งสิ้น 1,460 บาท
    2. ค่าชุดสาธิตปลูกสำเร็จรูประบบ NFT จำนวนทั้งสิ้น 40,000 บาท   ขนาด 1.5 x 6 เมตร x 20,000 บาท x 2 ชุด
  2. ค่าเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่นๆ จำนวนทั้งสิ้น 7,500 บาท
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 1,500 บาท
  4. ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น   1,500 บาท
  5. ค่าวิทยากร จำนวนทั้งสิ้น   1,500 บาท
  6. ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper จำนวนทั้งสิ้น     800 บาท
    1. ค่าจัดทำเอกสารและวัสดุ (ใบปลิว) จำนวนทั้งสิ้น     720 บาท รวม 54,980           บาท 5.3 เหลือคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสงขลาจำนวนทั้งสิ้น  13,200 บาท หมายเหตุ: ยอดเงินคงเหลือเนื่องจาก

- ในการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยและอุปกรณ์อื่น ๆ เกิดข้อท้วงติงจากทาง สตง. ว่าควรมีการปลูกแค่ 2 รอบในช่วงดำเนินโครงการเพราะเป็นแค่เพียงแปลงสาธิต จึงเหลือเงินคืน จำนวน 9,680 บาท -ค่าแผ่นตรวจ Reactive paper เหลือคืน   3,200 บาท - ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เหลือคืน    300 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ เลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 2. มีแปลงสาธิต การปลูกผักปลอดสารพิษอย่างต่อเนื่อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาบริโภคผักปลอดสารพิษ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทดลองปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh