กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคฉี่หนู
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลแหลมโตนด
วันที่อนุมัติ 24 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 ธันวาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 22,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมบูรณ์ พ่วงคง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซิสและสามารถป้องกันและกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตัวเอง 2.สามารถประชาสัมพันธ์และรณรงค์กำจัดหนูซึ่งเป็นพาหะของโรคในพื้นที่อย่างทั่วถึง 3.สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากโรคเลปโตสไปโรซิลในคน

มีการจัดการข้อมูล การบูรณาการทีมสหสาขา การขับเคลื่อนในระดับชุมชน พร้อมทั้งมีการติดตามประเมินผลในระดับตำบลไม่มีโรคฉี่หนูในพื้นที่

0.00
2 2.เพื่อสร้างกลไกการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายในระดับตำบลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการควบคุป้องกันโรคฉี่หนู

มีทีมควบคุมโรคในพื้นที่

0.00
3 3.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคฉี่หนู

อัตราการป่วยเท่ากับ 0

0.00
4 4.การประเมินการมีและใช้รองเท้า

จำนวนผู้มีและใช้รองเท้า ร้อยละ 100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง 2.ประชาชนมีและสวมรองเท้าบู๊ทเพื่อป้องกันโรคในช่วงหน้าฝน 3.จัดทีมออกเยี่ยมบ้านเกษตรกลุ่มเสี่ยง 4.จัดหารองเท้ากันน้ำ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีและใช้รองเท้าบู๊ทเพื่อป้องกันโรค ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและสามารถป้องกันและกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตัวเอง สามารถประชาสัมพันธ์และรณรงค์กำจัดหนู่ซึ่งเป็นพาหะของโรคในพื้นที่อย่างทั่วถึง สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากโรเลปโตสไปโรซีส

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ธ.ค. 2561 00:00 น.