กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62- L5169-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62- L5169-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของสตรีไทย ในปี 2553 พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ 13,184 ราย และเสียชีวิตประมาณ 4,665 ราย หรือทุก 2 ชั่วโมงจะพบว่าสตรีไทยเสียชีวิตด้วยมะเร็งเต้านม 1 คน และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์ในระยะหลังๆ ซึ่งจะมีการลุกลามและแพร่กระจายไปแล้วประมาณ ร้อยละ 56 ถึงแม้ว่ายังไม่ทราบถึงสาเหตุของมะเร็งเต้านมที่แน่ชัด แต่พบว่ามีปัจจัยเสี่ยง คือกลุ่มคนที่มีประจำเดือนมาเมื่ออายุน้อย หรือหมดประจำเดือน (Menopause) เมื่ออายุมาก ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมัน และสตรีที่มีญาติพี่น้องสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม และมักพบในสตรีอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ในสตรีอายุ 20-30 ปีก็พบได้บ่อยเช่นกัน ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการมีก้อนและแผลที่เต้านม หรือมีเลือด น้ำเหลืองไหลออกจากหัวนม       การป้องกันมะเร็งเต้านม คือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น ลดอาหารไขมัน และการป้องกันที่ดีที่สุด คือการตรวจพบให้เร็วที่สุด ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ซึ่งทำได้ 2 วิธี คือ
1) การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ซึ่งสามารถคลำพบก้อนที่โตประมาณ 1 ซม. ขึ้นไปได้ หากตรวจพบในระยะ 2-5 ซม.อัตราการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ 75-90 หากคลำพบก้อนขนาด 5 ซม. ขึ้นไปอัตราการรอดชีวิต มีเพียงร้อยละ 15-30 เท่านั้น  2) การตรวจเต้านมด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) จะสามารถพบก้อนได้ตั้งแต่ขนาด 2-3 มม. ขึ้นไป หากพบในระยะนี้การรักษาจะหายเกือบ 100% เพราะมะเร็งมีขนาดเล็กมากยังไม่แพร่ไปที่อื่น
      มูลนิธิกาญจนาบารมี ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำ “โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเครื่องเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ (Mammogram) ในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในวโรกาสที่เจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ” ระยะที่ 5 5 โดยโครงการดังกล่าว ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ ปี 2555 เพื่อรณรงค์ให้สตรีที่อยู่ห่างไกลและมีปัจจัยเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านม ให้ได้รับการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกด้วยการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram)  โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น    ทั้งนี้พื้นที่อำเภอคลองหอยโข่งเป็น 1 ใน 4 อำเภอที่จะเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงานโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ 2562
      ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลทุ่งลาน ได้รับการสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การคัดกรองเบื้องต้นทั้งการคัดกรองโดยวาจา การตรวจเต้านมโดยตนเอง และการตรวจเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน จึงจัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน ขึ้น เพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการกับ  มูลนิธิกาญจนบารมีต่อไปอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม
  2. ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ให้กับสตรีและกลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านม
  3. ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) สตรีกลุ่มเป้าหมาย และอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองและสามารถเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชนในชุมชน
2) สตรีกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และผู้ที่มีความผิดปกติของเต้านมสามารถขอรับบริการตรวจรักษาที่เหมาะสมได้โดยเร็ว 3) ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกมีโอกาสได้รับการรักษาหายขาด และลดอัตราป่วยและตายจากโรคมะเร็งเต้านมได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

วันที่ 25 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 75 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใจปัจจุยเสี่ยง อาการโรคและการรักษามะเร็งเต้านม ตลอดจนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต่้านม

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อรณรงค์การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ให้กับสตรีและกลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมในพื้นที่ได้รับการส่งต่อเข้าตรวจเต้านมจากบุคลากรสาธารณสุข ร้อยละ 100 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม ได้แก่ สตรีที่พบก้อนที่เต้านม หรือมีเลือดหรือน้ำเหลืองออกทางหัวนม ได้รับการส่งต่อเข้าตรวจเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม (2) ข้อที่ 2  เพื่อรณรงค์การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ให้กับสตรีและกลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านม (3) ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยแพทย์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการโรค และการรักษามะเร็งเต้านม สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมเพื่อสนับสนุนกิจกรรมมูลนิธิกาญจนบารมี ปี 2562 ตำบลทุ่งลาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62- L5169-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด