กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตั้งครรภ์คุณภาพ
รหัสโครงการ 62-L8302-1-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตก
วันที่อนุมัติ 18 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 39,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมาหามะนาวาวี หะยีอูเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.337,101.66place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2562 30 ก.ย. 2562 39,200.00
รวมงบประมาณ 39,200.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 72 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)
16.00
2 จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)
67.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาสุขภาพและอนามัยของบุคคลเป็นองค์ประกอบและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาศักยภาพของคนทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา การพัฒนาทางด้านสาธารณสุขจึงมีส่วนสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2539) การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรในกลุ่มแม่และเด็ก ถือเป็นเป้าหมายหนึ่งที่มีความสำคัญของการพัฒนาด้านสาธารณสุข หน่วยงานเกี่ยวข้องได้มีการดำเนินงานที่จะพัฒนาให้มีการส่งเสริมสนับสนุนแม่และเด็กให้มีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ โดยในการดำเนินงานนอกจากจะเน้นที่การให้บริการที่มีคุณภาพ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมในระหว่างตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการด้านอนามัยแม่และเด็ก การดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภ์ถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตกจึงได้จัดทำโครงการตั้งครรภ์คุณภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงตั้งครรภ์ รวมถึงการดูแลหญิงตั้งครรภ์แบบองค์รวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตลอดจนการดึงชุมชุนให้เข้ามามีส่วนรวมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตกปีงบประมาณ 2561 พบว่า มีหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมดจำนวน 73คน ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์จำนวน 57 คนคิดเป็นร้อยละ 78.08 อัตราการเกิดภาวะซีดจำนวน 16 คนคิดเป็นร้อยละ 21.91 อัตรามารดาที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 4.11 ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์จำนวน 67 คนคิดเป็นร้อยละ 91.78 และจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดจำนวน 8 คนคิดเป็นร้อยละ 10.96

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะซีด(คน)

16.00 10.00
2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)

67.00 73.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,200.00 4 39,200.00
1 ม.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 อบรมหญิงตั้งครรภ์,สามี/ญาติ จำนวน 3 ครั้ง 0 28,000.00 28,000.00
1 ม.ค. 62 - 31 มี.ค. 62 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ฝากให้เร็ว ฝากให้ไว ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง 0 4,000.00 4,000.00
1 มี.ค. 62 - 30 เม.ย. 62 กิจกรรมเครือข่ายร่วมดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน 0 3,000.00 3,000.00
1 มี.ค. 62 - 30 มิ.ย. 62 กิจกรรมอบรม อสม เชี่ยวชาญด้านอนามัยแม่และเด็ก 0 4,200.00 4,200.00

ขั้นที่ 1 เตรียมการก่อนดำเนินงานตามโครงการ 1.ประชุมและคัดเลือกแกนนำอาสาสมัครในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ 2. เขียนโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติ 3. ประสานชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ 4. จัดทำแผนปฏิบัติงาน กำหนดวัน เวลา เพื่อดำเนินการ ขั้นที่ 2 ดำเนินตามโครงการ
5. จัดประชุมหาแนวทางการแก้ไขปัญหากับเครือข่ายร่วมดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน 6. จัดกิจกรรมค้นหาหญิงตั้งครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ไว้ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากให้ครบ ลดภาวะเสี่ยง 7. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล 8. จัดกิจกรรมเสียงหัวใจแรกของลูก 9. จัดกิจกรรมอบรม อสม.เชี่ยวชาญด้านการดูแลหญิงตั้งครรภ์ 10. จัดกิจกรรมดูแลหลังคลอด เฝ้าระวังภาวะเสี่ยง 11. จัดกิจกรรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ขั้นที่ 3 สรุปผล 12. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ได้ถูกต้อง
    1. สามี/ญาติ และชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนกระทั้งถึงหลังคลอด
    2. ลดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2562 13:59 น.