โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพิศสำเภาทอง ประธาน อสม.ชุมชนหลังอาชีวะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและสติปัญญาจึงควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาการในทุกๆด้าน เป็นวัยที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่และเป็นกำลังของชาติ หากเด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมทั้งด้านร่างกายและสติปัญญาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ก็จะทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ซึ่งเด็ก 1 - 6ปี เป็นวัยที่ต้องการพัฒนาการในด้านต่างๆ โดยเฉพาะพัฒนาการด้านร่างกาย แต่จากการสำรวจ พบว่า ผู้ปกครองเด็กวัยนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของอาหารที่เหมาะสมกับวัย การเลือกซื้ออาหาร รวมไปถึงวิธีการล้างผักและการจัดการกับอาหารอื่นๆให้ปลอดสารพิษ ส่งผลให้เด็กวัยนี้ขาดสารอาหาร
ดังนั้น ชุมชนหลังอาชีวะจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้เด็กๆได้รับอาหารมีคุณค่าและเหมาะสมกับวัยโดยเน้นให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
- 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขและติดตามทางโภชนาการ
- เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
- คณะทำงานร่วมกันเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน
- จัดอบรมผู้ปกครองในเขตพื้นที่ 6 ชุมชน จำนวน 20 คน โดยให้ความรู้เรื่องปัญหาด้านโภชนาการที่มักพบในเด็กก่อนวัยเรียน และความรู้เรื่องปริมาณอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนควรได้รับต่อวัน/ตัวอย่างรายการอาหารเด็กก่อนวัยเรียนควรได้รับต่อวัน และดูวีดีโอ วิธีคำนวณคุณค่าอาหารที่เด็กควรได้รับในแต่ละวัน และอาหาร 5 หมู่เพื่อสมองของเด็ก โดยก่อนการอบรมผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กร้อยละ 78.75 และมีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมร้อยละ 90
- ให้อาหารเสริมนมแก่เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน
- ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก พร้อมแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง การเจริญเติบโตสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน หลังได้รับอาหารเสริมนม ครบ 3 เดือน
สรุปผลการดำเนินงาน
สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 25,550 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 25,550 บาท
ดังรายการต่อไปนี้
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 750 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวนทั้งสิ้น 900 บาท
4. ค่าจัดทำเอกสารและวัสดุ จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท
5. ค่าอาหารเสริม (นม) ขนาด 200 มล. จำนวนทั้งสิ้น 21,600 บาท
6. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 300 บาท
รวม 25,550 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. เด็กก่อนวัยเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 80
2
2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน ร้อยละ 80
3
3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพิศสำเภาทอง ประธาน อสม.ชุมชนหลังอาชีวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพิศสำเภาทอง ประธาน อสม.ชุมชนหลังอาชีวะ
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายและสติปัญญาจึงควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาการในทุกๆด้าน เป็นวัยที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่และเป็นกำลังของชาติ หากเด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมทั้งด้านร่างกายและสติปัญญาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ก็จะทำให้เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ซึ่งเด็ก 1 - 6ปี เป็นวัยที่ต้องการพัฒนาการในด้านต่างๆ โดยเฉพาะพัฒนาการด้านร่างกาย แต่จากการสำรวจ พบว่า ผู้ปกครองเด็กวัยนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของอาหารที่เหมาะสมกับวัย การเลือกซื้ออาหาร รวมไปถึงวิธีการล้างผักและการจัดการกับอาหารอื่นๆให้ปลอดสารพิษ ส่งผลให้เด็กวัยนี้ขาดสารอาหาร ดังนั้น ชุมชนหลังอาชีวะจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้เด็กๆได้รับอาหารมีคุณค่าและเหมาะสมกับวัยโดยเน้นให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
- 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
- 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขและติดตามทางโภชนาการ
- เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้
- ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ รายละเอียดกิจกรรม และติดตามการดำเนินงานโครงการ
- คณะทำงานร่วมกันเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน
- จัดอบรมผู้ปกครองในเขตพื้นที่ 6 ชุมชน จำนวน 20 คน โดยให้ความรู้เรื่องปัญหาด้านโภชนาการที่มักพบในเด็กก่อนวัยเรียน และความรู้เรื่องปริมาณอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนควรได้รับต่อวัน/ตัวอย่างรายการอาหารเด็กก่อนวัยเรียนควรได้รับต่อวัน และดูวีดีโอ วิธีคำนวณคุณค่าอาหารที่เด็กควรได้รับในแต่ละวัน และอาหาร 5 หมู่เพื่อสมองของเด็ก โดยก่อนการอบรมผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กร้อยละ 78.75 และมีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมร้อยละ 90
- ให้อาหารเสริมนมแก่เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน
- ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก พร้อมแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง การเจริญเติบโตสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน หลังได้รับอาหารเสริมนม ครบ 3 เดือน
สรุปผลการดำเนินงาน
สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 25,550 บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 25,550 บาท ดังรายการต่อไปนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนทั้งสิ้น 750 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวนทั้งสิ้น 900 บาท 4. ค่าจัดทำเอกสารและวัสดุ จำนวนทั้งสิ้น 1,000 บาท 5. ค่าอาหารเสริม (นม) ขนาด 200 มล. จำนวนทั้งสิ้น 21,600 บาท 6. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 300 บาท รวม 25,550 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1. เด็กก่อนวัยเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย ตัวชี้วัด : 2. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามพฤติกรรมการเลือกซื้อและการบริโภคอาหาร ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพิศสำเภาทอง ประธาน อสม.ชุมชนหลังอาชีวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......