กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน


“ ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน ”

ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุพรรษา คงเพชร

ชื่อโครงการ ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L7573-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 21 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนขนุน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L7573-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2562 - 21 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทรัพยากรมนุษย์ เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เมื่อเปรีบยเทียบกับทรัพยากรด้านอื่นๆ จะเห็นได้จากแบบพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในสมัยปัจจุบันมุ่งเน้นในการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา และการพัฒนาคนที่ดีก็ควรต้องทรัพยากรมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับทรัพยากรด้านอื่นๆ จะเห็นได้จากแบบพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันมุ่งเน้นในการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา และการพัฒนาคนที่ดีก็ควรต้องเริ่มจากวัยเด็ก เพราะวัยเด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้าการที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพเด็กจะต้องมีพัฒนาการทีสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปี 2560พบภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วนเพียงร้อละ 65.1 ภาวะผอม เริ่มอ้วนถึงอ้วน และเตี้ยพบร้อยละ 5 , 11.2 , และ 5.1 ตามลำดับปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภาวะโภชนาการไม่เหมาะสมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่หลากหลายซ้ำซ้อนทั้งภาวะขาดสารอาหารและภาวะโภชนาการเกิน สำหรับสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ว่าควรเร่งให้ความสำคัญในการส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กคืออัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้องัรที่เพิ่มสูงขึ้นอันเป็นปรากฎการณ์ที่ผิดปกติเป็นอย่างยิ่งดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็ก จึงถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งที่เราทุกส่วนทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันในการส่งเสริมสุขอนามัยในเด็กปฐมวัยควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพในด้านการดูแลสุขภาพตนเองจะส่งผลให้มีพฤติกรรมที่ด ทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ในการนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาเด็กวัยเรียนโรงเรียนบ้านควนขนุนกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทสบาลตำบลควนขนุน จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียนตามหลัก 3อ. (อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) เพื่อส่งเสริมให้เด้กในวัยเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาดจิตดีมีพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัย ด้วยการรับประทานอาหารที่เป้นประโยชน์ต่อร่างกายและถูกต้องตามหลักโภชนาการการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมีอารมณ์แจ่มใสตามวัยรวมทั้งเพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพในการพัฒนาเด็กวัยเรียนในโรงเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องโภชนาการและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ั 2.นักเรียนได้รับปริมาฯอาหารในแต่ละวันตรงตามความต้องการของร่างกาย 3.นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงอยูาในเกณฑ์มาตรฐาน 4.นักเรียนเลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างตรบถ้วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.จัดอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย และ อารมณ์) 2.1กิจกรรมอบรมให้ความรู   -ชี้แจงโครงการและทำพัธสัญญากับผู้เข้าร่วมโครงการ   -ทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-test)
  -ถ่ายทอดความรู้ในเรื่อง ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพตามหลัก 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) และการดูแลสุขภาพอนามัยในกิจกวัตรประจำวัน
2.2กิจกรรม "ฉลาด อ่านฉลาก ลด หวาน มัน เค็ม"   -ทดสอบความรู้หลังเรียน (Post-test) 2.3 ติดตามพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจกับกิจกรรม ร้อยละ 80 2.กลุ่มเป้าหมายที่เข่ร่วมกิจกรรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 93

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการร้อยละ 89.3 และกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 93

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกิจกรรมมีความพึงพอใจ
5.00 80.00 91.70

กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับดีมาก

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้ร
11.20 0.00 92.50

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้นร้อยละ92.5

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 120
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปรับพฤติกรรมเปลี่ยนสุขภาพเด็กวัยเรียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L7573-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุพรรษา คงเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด