กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสะอารี ดอเลาะตาเฮ

ชื่อโครงการ โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-3-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2562 ถึง 21 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8302-3-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2562 - 21 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วย เทศบาลตำบลมะรือโบตก มีผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ฯ จำนวน 8,357 คน แบ่งชาย จำนวน 4,182 คน และหญิง จำนวน 4,175 บาท ทางเทศบาลได้เล็งเห็นว่าผู้สูงอายุในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลมะรือโบตก มีความเหงาโดดเดี่ยวขาดการเข้าสังคมและขาดความรู้การปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพ มีผู้สูงอายุบางกลุ่มติดสังคม และติดบ้าน เทศบาลฯอยากส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลฯ มีการร่วมกลุ่มกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จัดกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสุข ได้ทั้งความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินชีวิตให้ดีขึ้น
ดังนั้น เทศบาลตำบลมะรือโบตกได้จัดตั้งวิทยาลัยสูงวัยเทศบาลตำบลมะรือโบตก เมื่อปี พ.ศ.2561 ได้ดำเนินการเปิดการเรียนให้กับนักเรียนวิทยาลัยสูงวัย จำนวน 2 รุ่นแล้ว รุ่นที่ 1 มีนักเรียนจำนวน 70 คน และรุ่นที่ 2 มีนักเรียนจำนวน 80 คน ปัจจุบันวิทยาลัยสูงวัยเทศบาลตำบลมะรือโบตก ได้เปิดการเรียนในวิทยาลัยสูงวัยเทศบาลตำบลมะรือโบตก รุ่นที่ 3 โดยมีนักเรียนมาสมัคร จำนวน 80 คน
วิทยาลัยสูงวัยเทศบาลตำบลมะรือโบตก จึงขอเสนอโครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข เพื่อจะดำเนินการจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนในวิทยาลัยสูงวัยเทศบาล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ทำกิจกรรมร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกตัวเองมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคม เพื่อป้องกันมิให้ผู้สูงอายุขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย    สิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว  การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ      และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่    มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม  เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ทางวิทยาลัยสูงวัยเทศบาลตำบลมะรือโบตก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุขขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 5 ส.
  2. กิจกรรมขยับขายสบายชีวี ดีดี้ต่อสูงวัย
  3. กิจกรรมการใช้ยาและอันตรายจากอาหารเสริมในผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันในผู้สูงอายุ
  5. กิจกรรมสูงวัยแข็งแรงโดยใช้ตาราง 9 ช่อง
  6. กิจกรรมแช่เท้าสมุนไพร
  7. กิจกรรมสาธิตทำอาหารเพื่อสุขภาพ
  8. กิจกรรมเล่นกีฬาพื้นบ้านเพื่อสูงวัย
  9. กิจกรรมละลายพฤติกรรม บริหารสมอง หลักคิดพิชิตความชราพัฒนาย้อนยุค สานวัฒนธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลทั้งร่างกายและจิตใจ
    1. มีการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
    2. เป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้สูงอายุในปั้นปลายของชีวิต

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 5 ส.

วันที่ 29 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ 5 ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการดูแลสุขภาพ

 

80 0

2. กิจกรรมสูงวัยแข็งแรงโดยใช้ตาราง 9 ช่อง

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสูงวัยแข็งแรงโดยใช้ตาราง 9 ช่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้สูงวัยมาร่วทกิจกรรม 80 คน

 

80 0

3. กิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันในผู้สูงอายุ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมดูแลสุขภาพช่องปากและฟันในผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

4. กิจกรรมแช่เท้าสมุนไพร

วันที่ 5 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแช่เท้าสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

5. กิจกรรมสาธิตทำอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 12 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สาธิตทำอาหารเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

6. กิจกรรมขยับกายสบายชีวี ดีดี้ต่อสูงวัย

วันที่ 26 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมขยับกายสบายชีวี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

7. กิจกรรมเล่นกีฬาพื้นบ้านเพื่อสูงวัย

วันที่ 23 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เล่นกีฬาพื้นบ้านเพื่อสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

8. กิจกรรมการใช้ยาและอันตรายจากอาหารเสริมในผู้สูงอายุ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการใช้ยาและอันตรายจากอาหารเสริมในผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

9. กิจกรรมละลายพฤติกรรม บริหารสมอง หลักคิดพิชิตความชราพัฒนาย้อนยุค สานวัฒนธรรม

วันที่ 30 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ละลายพฤติกรรม บริหารสมอง หลักคิดพิชิตความชราพัฒนาย้อนยุค สานวัฒนธรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงวัยมีสุขภาพที่ดีขึ้น ไดมีกิจกรรมทุกสัปดาห์ มีการรวมตัวทำกิจกรรมร่วมกัน

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
1.00 2.00

 

2 เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม มีการเข้าร่วมกิจกรรมร่วมกัน
30.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 5 ส. (2) กิจกรรมขยับขายสบายชีวี ดีดี้ต่อสูงวัย (3) กิจกรรมการใช้ยาและอันตรายจากอาหารเสริมในผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันในผู้สูงอายุ (5) กิจกรรมสูงวัยแข็งแรงโดยใช้ตาราง 9 ช่อง (6) กิจกรรมแช่เท้าสมุนไพร (7) กิจกรรมสาธิตทำอาหารเพื่อสุขภาพ (8) กิจกรรมเล่นกีฬาพื้นบ้านเพื่อสูงวัย (9) กิจกรรมละลายพฤติกรรม บริหารสมอง หลักคิดพิชิตความชราพัฒนาย้อนยุค สานวัฒนธรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสูงวัย สุขกาย สุขใจ ชีวีมีสุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-3-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะอารี ดอเลาะตาเฮ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด